คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางสาวปานฤทัย วรรณชิต ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย วิชา คอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ป
Advertisements

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู Information Technology for Teacher
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ computer หมายถึงเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
เกณฑ์การให้คะแนน กลางภาค 60 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
COMPUTER.
พัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
Surachai Wachirahatthapong
Chapter 1 Introduction to Information Technology
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคำนวณอีเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบมาใช้ในการจัดการคำนวณงานทางธุรกิจ เครื่องจักรทางอีเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานได้โดยอัตโนมัติตามความต้องการของผู้ใช้
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
Information Technology I
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
โดย นายธีระพงษ์ มะลัยทิพย์
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
วิวัฒนการของคอมพิวเตอร์
 เนื่องจากในปัจจุบันทุกๆ ปีจะมี ภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมาย และ ภาษาต่างๆ จะมีจุดดีและจุดด้อย แตกต่างกันไป ผู้ใช้จึงจําเป็นต้องทําการ คัดเลือกภาษาที่จะนํามาใช้งานอย่าง.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ง41101 การงานพื้นฐานอาชีพ 1 ครูมาโนชญ์ แสงศิริ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิจิตร เขต 1.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอ เรื่อง คอมพิวเตอร์ยุคที่ สาม (T HIRD G ENERATION : ) เสนอ อาจารย์ อภิศักดิ์ พัฒน จักร จัดทำโดย กลุ่มที่ 3 SC-ICT SEC.1 นายจีรพัฒน์ อุมัษเฐียร.
ยุคของคอมพิวเตอร์.
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
คิดค้นโดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้ตัวเครื่องมีขนาด ใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก.
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก จัดทำ โดย ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน เลขที่ 8 ด. ช. ต่อศักดิ์ ถาน้อย เลขที่ 9.
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ช. สินชัย พรมสินชัย เลขที่ 3 ม.1/2 ด. ญ. ภาณุมาศ ไชยวงค์ เลขที่ 14 ม.1/2.
เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น BC. 201 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

หัวข้อเนื้อหา ความหมายของคอมพิวเตอร์ คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ จุดเด่น – จุดด้อยของคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ยุคของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์คืออะไร “ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกโปรแกรมให้ รับข้อมูล (Input) เพื่อนำไปประมวลผล (Process) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ (Output) ตามที่ต้องการ และสามารถเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในครั้งต่อไป ”

ทำหน้าที่ เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ซึ่งมีมนุษย์เป็นผู้ป้อนคำสั่งให้ทำ

คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพ (Efficiency)ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มีประสิทธิผล (Effectiveness)ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูล (Storage Capability) เก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก มีความน่าเชื่อถือ (Reliability) สามารถทำงานซ้ำๆ (Repeatability)

Advantages of Computer and Computing Technology ผลิตผลมาก (Productivity) ประกอบการตัดสินใจ (Decision Making) ลดค่าใช้จ่าย (Cost Reduction) สังคมที่ไม่ใช้เงินสด (Cashless Society) ง่ายต่อการติดต่อสื่อสาร(Easy Communication)

Advantages of Computer andComputing Technology เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน (Work Efficiency) ตอบสนองความต้องการ (Satisfaction) ไม่จำกัดสถานที่ (Portability)

ขึ้นกับผู้เขียนโปรแกรม ใช้เวลาในการเรียนรู้ Disadvantages of Computer and Computing Technology ขึ้นกับผู้เขียนโปรแกรม ใช้เวลาในการเรียนรู้ แย่งงาน / แทนที่การทำงานของมนุษย์ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว สร้างพฤติกรรมก้าวร้าว

ข่าวสารข้อมูลมีมากเกินไป (Information Flood) Disadvantages of Computer and Computing Technology ข่าวสารข้อมูลมีมากเกินไป (Information Flood) การรับข่าวสารเก่า และ การเข้าถึงข่าวสาร ปัญหาสุขภาพ ปัญหาผู้ก่อความไม่สงบ

Computer Usage งานที่เสี่ยงอันตราย การป้องกันภัยธรรมชาติ การสำรวจ การเกษตร การศึกษา และการวิจัยทาง วิทยาศาสตร์ การคมนาคม และการติดต่อสื่อสาร

Computer Usage บริษัท ห้างร้าน และองค์กรต่างๆ ระบบรักษาความปลอดภัย การแพทย์ และสาธารณะสุข งานดนตรี งานศิลปะ

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (The Evaluation of Computer)

ลูกคิด

คาน ฟันเฟือง รอก

Pascal’s Calculating Device คล้ายกับตารางสูตรคูณ Napier’s bones กล่องสี่เหลี่ยมมีฟันเฟืองสำหรับหมุนตัวเลขอยู่ด้านบน Pascal’s Calculating Device

Leibnitz Calculator Falcon’s Loom สามารถคำนวณบวก ลบ คูณ หารได้ Leibnitz Calculator Falcon’s Loom ไม่สามารถทำงานได้โดยอัตโนมัติ

บิดาแห่งคอมพิวเตอร์ ชาลส์ แบบเบจ ได้ทำการออกแบบเครื่อง Difference Engine บิดาแห่งคอมพิวเตอร์

Analytical Engine จัดเก็บตัวเลขและนำไปคำนวณได้ ประกอบด้วยหน่วยความจำ จัดเก็บตัวเลขและนำไปคำนวณได้ สามารถนำข้อมูลเข้าด้วยบัตรเจาะรู สามารถทำงานได้หลายหน้าที่เหมือน คอมพิวเตอร์

Ada Byron โปรแกรมเมอร์คนเแรกของโลก

ยุคของคอมพิวเตอร์

(The Computer Generations) ยุคของคอมพิวเตอร์ (The Computer Generations) คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 เริ่มจากเครื่อง UNIVAC 1 ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ.1946 โดย เอ็คเคิร์ตและมอชลี โดยถือเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่นำมาใช้กับงานทางธุรกิจ

เครื่อง UNIVAC 1

Vacuum Tube ลักษณะเด่นยุคที่ 1 ใช้หลอดสุญญากาศ เป็นหน่วยประมวลผลกลาง ลักษณะเด่นยุคที่ 1 ใช้หลอดสุญญากาศ เป็นหน่วยประมวลผลกลาง ดรัมแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำหลัก ใช้บัตรเจาะรู/เทปกระดาษเป็นหน่วยความจำสำรอง Vacuum Tube

คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 ทรานซิสเตอร์มาแทนหลอดสุญญากาศ Transistor

Magnetic Core ลักษณะเด่นยุคที่ 2 ลักษณะเด่นยุคที่ 2 มีการนำวงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำหลัก บัตรเจาะรู, เทปแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำสำรอง Magnetic Core

ได้มีการค้นพบอุปกรณ์ไอซี (Integrated Circuit: IC) คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 ได้มีการค้นพบอุปกรณ์ไอซี (Integrated Circuit: IC) ชิป มีทรานซิสเตอร์เชื่อมกันมากมาย

ลักษณะเด่นยุคที่ 3 มีการนำภาษาระดับสูงมาใช้อย่างแพร่หลาย เช่น ภาษาโคบอล ฟอร์แทรน และยังมีภาษาเบสิก และปาสคาล มีการใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติ-โปรแกรมมิง (Multiprogramming) ระบบแบ่งเวลา (Time Sharing) มินิคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น

LSI (Large-Scale Integration) คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 เริ่มจากบริษัทอินเทลได้ค้นพบ LSI (Large-Scale Integration) มีการนำทรานซิสเตอร์หลายพันตัวบรรจุลงในชิปตัวเดียวกัน Micro processor

ไมโครคอมพิวเตอร์แอปเปิ้ล (Apple Computer) จนกระทั่งราวปี 1975 ก็ได้เกิดไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกภายใต้ชื่อว่า Altair8800 ไมโครคอมพิวเตอร์แอปเปิ้ล (Apple Computer) ใช้ในวงการ Education มาก

ต่อมา บริษัทไอบีเอ็มชื่อว่า IBM-PC ต้นแบบของไมโครคอมพิวเตอร์มาจนถึงปัจจุบัน

ลักษณะเด่นยุคที่ 4 มีการสร้างซูเปอร์คอมพิวเตอร์ชื่อว่า CRAY-1 ลักษณะเด่นยุคที่ 4 มีการสร้างซูเปอร์คอมพิวเตอร์ชื่อว่า CRAY-1 CRAY X-MP ได้มีการพัฒนาภาษายุคที่ 4 (4GL)

เป็นเทคโนโลยีที่เรียกว่า VLSI (Very Large-Scale Integration) คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 เป็นเทคโนโลยีที่เรียกว่า VLSI (Very Large-Scale Integration) ชิป หนึ่งตัวบรรจุด้วยทรานซิสเตอร์หลายพันล้านชิ้น

ยุคสมัยคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง หลอดสูญญากาศ (Vacuum Tube) คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง ทรานซิสเตอร์ (Transistor) คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม แผงวงจรรวม (IC : Integrated Circuit) คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ยุคของวงจร VLSI (Very Large Scale Integration)