คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
บทที่ 8 Power Amplifiers
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
รูดอล์ฟ ดีเซล.
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
อะไรคือ “ไฮบริด”. อะไรคือ “ไฮบริด” ไฮบริด ( hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า.
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
งานและพลังงาน (Work and Energy).
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
เทคโนโลยีน้ำมันแก๊สโซฮอลล์ ( GOSOHOL )
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
กันชนรถยนต์ การใช้งานของผลิตภัณฑ์ วัสดุ เทคโนโลยีการขึ้นรูป
พลังงานภายในระบบ.
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
Combined Cycle Power Plant
Centrifugal Pump.
การใช้ก๊าซธรรมชาติในยานยนต์ ( NGV)
โดย สัญลักษณ์งานท่อ แผนกวิชาช่างเขียนแบบเครื่องกล
ผลของจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงต่อสมรรถนะและการปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบ ที่ใช้เชื้อเพลิงเอทิลเอสเทอร์ผสมดีเซล นพดล พินธุกนก ดร. จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ.
ประกาศกรมการขนส่งทางบกเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบค่าก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์และก๊าซไฮโดรคาร์บอนจากท่อไอเสียของรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบกที่ใช้เครื่องยนต์แก๊สโซลีน.
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ระบบหล่อลื่น และระบายความร้อน
การตรวจซ่อม เครื่องยนต์ 4 จังหวะ และเกียร์
ระบบระบายความร้อน ระบบระบายความร้อนมี 2 ประเภทด้วยกันคือ
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
สมาชิกกลุ่ม 9 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต
ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง
ระบบเครื่องปรับอากาศ
ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด ลิ้นอย่างอัจฉริยะ(VVT-I : VARIABLE VALVE TIMING-INTELLIGENCE) ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด.
โครงการปรับแต่ง เครื่องยนต์ ให้สามารถใช้แก๊ส โซฮอล์
เป็นแหล่งพลังงานจ่ายไฟ ให้แก่มอเตอร์สตาร์ท และ
ช่างเทคนิคโตโยต้า>>ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการรักษาตามระยะ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> การบำรุงรักษาตามระยะ
เครื่องดูดฝุ่น.
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
N - SERIES.
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน
ENERGY SAVING BY HEAT PUMP.
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
เหตุการณ์สำคัญทางเทคโนโลยีในมุมมองของนักเคมี นักเคมีและวิศวกรเคมีได้มีส่วนสนับสนุนในหลายประการเกี่ยวกับพลังงานและการ ขนส่ง ที่ทำให้พวกรได้มีไฟฟ้าใช้บนโลกผ่านอากาสและในอวกาศ.
มาตรการประหยัดพลังงาน
จุดเด่นของระบบ Versus
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
อุณหพลศาสตร์ Thermodynamics
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
“เทคโนโลยีดีเซลอีซูซุ” เครื่องยนต์รุ่น 4JJ1-TC ซูเปอร์คอมมอนเรล
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการถอดและประกอบลิ้นไอดี-ไอเสียของเครื่องยนต์แบบ Over Head Camshaft วิชาเครื่องยนต์แก๊สโซลีน โดยใช้เครื่องถอดและประกอบลิ้นไอดี-ไอเสียแบบนิวแมติกส์
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่องระบบรับและจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงเหนือถังสำหรับระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 6 พฤษภาคม.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม งานนำเสนอของ นาย องอาจ ฮามคำไพ คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม (เครื่องกล) วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม

หลักการทำงานของเครื่องยนต์สองจังหวะและสี่จังหวะ เรื่อง หลักการทำงานของเครื่องยนต์สองจังหวะและสี่จังหวะ (Two stroke and four stroke engine)

หลักการทำงานของเครื่องยนต์สองจังหวะ (Two stroke engine) เครื่องยนต์ชนิด 2 จังหวะ ถูกออกแบบมาไม่เหมือนกับเครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะคือ เครื่องยนต์ 4 จังหวะจะใช้วาล์ว ไอดี และวาล์วไอเสีย เป็นกลไก ในการจ่ายไอดี และไอเสียสลับกัน แต่เครื่อง 2 จังหวะ ถูกออกแบบให้มีช่องไอดี และไอเสีย อยู่ที่กระบอกสูบ ซึ่งช่องนี้ จะเปิด หรือปิดได้ อยู่ที่การเคลื่อนที่ของตัวลูกสูบ เท่ากับว่าลูกสูบ ทำหน้าที่เป็นวาล์วไปในตัว

   จังหวะดูด และอัด     เป็นจังหวะที่ลูกสูบเคลื่อนที่จากศูนย์ตายล่าง ขึ้นสู่ศูนย์ตายบน ระหว่างการเคลื่อนที่นี้เอง ด้านบนลูกสูบคือการอัดอากาศไอดี ในขณะเดียวกัน ช่องไอเสีย จะถูกปิดด้วยตัวลูกสูบ โดยอัตโนมัติ โดยที่เวลาเดียวกันนี้เอง ความสูงของลูกสูบก็พ้นช่องไอดีออกไป ทำให้อากาศไอดี ไหลเข้าสู่ห้องเพลาข้อเหวี่ยง โดยอัตโนมัติ เช่นกัน จังหวะอัด จังหวะดูด

 จังหวะกำลัง และจังหวะคาย     เมื่อลูกสูบ เคลื่อนที่ขึ้นไปสู่ศูนย์ตายบน ก็จะเกิดประกายไฟจากหัวเทียนทำให้เกิดระเบิดเพื่อดันลูกสูบลงไปสู่ศูนย์ตายล่าง อีกครั้ง ในระหว่างการเคลื่อนที่ลงครั้งนี้ ความสูงของลูกสูบ ก็จะไปปิดช่องอากาศทางเข้าไอดี และด้านบนของลูกสูบก็จะพ้นช่อง ทางออกของไอเสีย ทำให้อากาศไอเสียไหลผ่านออกไป ในขณะเดียวกันนี้เองที่ด้านบนของลูกสูบก็จะพ้นช่องไหลเข้าของไอดี ที่มา จากห้องเพลาข้อเหวี่ยง เข้าไปแทนที่  จังหวะกำลัง จังหวะคาย

ภาพแสดงการทำงาน

หลักการทำงานของเครื่องยนต์สี่จังหวะ (Four stroke engine) การทำงานของเครื่องยนต์  4  จังหวะ    1. จังหวะดูด  (Intake Stroke)      เมื่อลูกสูบเลื่อนลงจากจุดศูนย์ตายบนถึงจุดศูนย์ตายล่าง(TDC-BDC)  ลิ้นไอดีจะเปิด  อากาศจะถูกดูดเข้ามาประจุในห้องเผาไหม้   แต่ในขณะนี้ลิ้นไอเสียยังคงปิดอยู่    2. จังหวะอัด (Compression Stroke)   เมื่อลูกสูบเริ่มเลื่อนขึ้นจากศูนย์ตายล่าง  (BDC)  ลิ้นทั้งสองจะปิด   ดังนั้นอากาศในกระบอกสูบจึงถูกอัดโดยกระบอกสูบ แรงดันและความร้อนของอากาศจึงสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว  อากาศในขณะนี้เป็นอากาศที่ร้อนแดง  " Red  hot Air"  ถ้าอัตราส่วนการอัดเท่ากับ  20:1 อากาศจะมีแรงดัน  40-45 กก./ตารางเซนติเมตร  และมีอุณหภูมิ  500-600 องศาเซลเซียส

จังหวะดูด จังหวะอัด

3. จังหวะระเบิด (power Stroke)  เมื่อลูกสูบเลื่อนขึ้นเกือบจุดศูนย์ตายบน  ในปลายจังหวะอัด  ละอองน้ำมันเชื้อเพลิงจะถูกฉีดเข้าสู่ห้องเผาไหม้  ทำให้เกิดการเผาไหม้อย่างทันทีทันใด  แรงดันจากการเผาไหม้จะผลักดันให้ลูกสูบเลื่อนลง  อุณหภูมิจะสูงขึ้นเป็นประมาณ  2000 องศาเซลเซียส    และแรงดันสูงขึ้นเป็น  55-80  กก./ตารางเซนติเมตร  ในจังหวะระเบิดนี้พลังงานความร้อนจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานกล     4.  จังหวะคาย (Exhaust Stroke)  ปลายจังหวะระเบิด  ลิ้นไอเสียจะเปิด  แก๊สไอเสียจึงขับไล่ออกจากกระบอกสูบ  ด้วยการเลื่อนขึ้นของลูกสูบ

จังหวะกำลัง จังหวะคาย

ภาพแสดงการทำงาน