อาร์เรย์ (Array).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Array ใน C# Suphot Sawattiwong
Advertisements

Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Arrays.
ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Principles of Programming
Principles of Programming
ตัวแปรชนิดโครงสร้าง (Structure)
Data Type part.II.
Data Type part.III.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
Structure.
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 9 Structure.
C Programming Lecture no. 6: Function.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
อาร์เรย์และข้อความสตริง
อาร์เรย์ ชื่อ น. ส. พิชชากานต์ ไชยชาญยุทธ์ เลขที่ 22 ชั้นสทส.1/1.
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Lecture 4 เรคอร์ด.
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม Array in PHP เสรี ชิโนดม
Week 12 Engineering Problem 2
ตัวแปรชุด Arrays.
อาร์เรย์ (Arrays).
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาร์เรย์ (Array)

การเก็บข้อมูลด้วยอาร์เรย์ float Grade_student1 = 2.12; float Grade_student2 = 3.62; float Grade_student3 = 0.89; ถ้าสมมติว่ามีนักศึกษา 1000 คน? อาร์เรย์ (Array) คือ รูปแบบการเก็บข้อมูล ที่สามารถเก็บข้อมูลได้หลาย ค่า โดยใช้ตัวแปรเพียงตัวเดียว โดยที่ค่าต่างๆ เหล่านี้ มีชนิดข้อมูลแบบ เดียวกัน สมาชิก (Element) คือ ข้อมูลที่ถูกเก็บอยู่ภายในอาร์เรย์ คีย์ หรือ อินเด็กซ์ (Index) คือ ค่าที่ใช้ระบุตำแหน่งสมาชิกในอาร์เรย์ (เป็น integer เท่านั้น)

1. การประกาศข้อมูลชนิดอาร์เรย์ มีรูปแบบดังนี้ Array_Type Array_name[amount of element]; โดยที่ Array_Type คือ ชนิดข้อมูล (data type) ในอาร์เรย์ เช่น int, char, float, double Array_name คือ ชื่อของตัวแปรอาร์เรย์ [amount of element] คือ จำนวนสมาชิกของอาร์เรย์

1.1 การประกาศและกำหนดค่าข้อมูลชนิดอาร์เรย์ (ในแต่ละอินเด็กซ์) ตัวอย่าง : int score[10]; //ประกาศตัวแปรชื่อ score เพื่อเก็บข้อมูลคะแนน //นักศึกษา จำนวน 10 ข้อมูล โดยทั้ง 10 ข้อมูลมี //ชนิดเป็นจำนวนเต็ม score[0] = 20; //กำหนดค่าให้อาร์เรย์อินเด็กซ์ที่ 0 มีค่า 20 score[1] = 25; //กำหนดค่าให้อาร์เรย์อินเด็กซ์ที่ 1 มีค่า 25 score[2] = 15; //กำหนดค่าให้อาร์เรย์อินเด็กซ์ที่ 2 มีค่า 15 … score[9] = 26; //กำหนดค่าให้อาร์เรย์อินเด็กซ์ที่ 9 มีค่า 26

1.2 การประกาศและกำหนดค่าข้อมูลชนิดอาร์เรย์ (ทุกอินเด็กซ์พร้อมกัน) การกำหนดค่าของอาร์เรย์ทั้งหมด โดยระบุจำนวนสมาชิก หรือไม่ระบุก็ได้ หรือ กำหนดสมาชิกไม่ครบก็ได้ ดังนี้ int score[10] = { 20,25,30,26,24,18,17,25,24,22};  int score[ ] = { 20,25,30,26,24,18,17,25,24,22};  int score[10] = {20,25,30}

1.3 การประกาศและกำหนดค่าข้อมูลชนิดอาร์เรย์ (กำหนดค่าจากตัวแปร) การกำหนดค่าให้อาร์เรย์จากตัวแปร เช่น int score[10]; int x = 20, y = 26; score[0] = x; score[9] = y;

2. การอ้างถึงสมาชิกและข้อมูลในอาร์เรย์ การอ้างถึงแต่ละสมาชิกของอาร์เรย์ เพื่อเข้าไปใช้งานค่า ทำได้โดยการเขียนชื่อของ อาร์เรย์และใส่อินเด็กซ์ของสมาชิกไว้ใน [ ] โดยอินเด็กซ์เริ่มตั้ง 0 ถึง n-1 (n คือ จำนวนสมาชิกของอาร์เรย์ทั้งหมด) เช่น cout << score[9] + score[8] ; score[4] = score[3]+ score[2]; cout << score[4]; ถ้าอ้างถึงสมาชิกอาร์เรย์เกินขอบเขตจะเกิดอะไรขึ้น? เช่น score[10]

3. การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ดเก็บไว้ในอาร์เรย์ สามารถใช้คำสั่งวนลูปเพื่อรับค่าคงที่เข้าไปเก็บไว้ในอาร์เรย์แต่ละสมาชิกโดยใช้ลูป for, while , do เช่น จงเขียนคำสั่งในการรับค่าเลขจำนวนเต็ม 10 จำนวนจากผู้ใช้แล้วเก็บไว้ในอาร์เรย์ int score[10]; for (int i=0 ; i<=9; i++) { cin >> score[i]; }

3. การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ดเก็บไว้ในอาร์เรย์ (ต่อ) จงเขียนคำสั่งในการรับค่าเลขจำนวนเต็ม 10 จำนวนจากผู้ใช้แล้วเก็บไว้ในอาร์เรย์ แล้วหาผลรวมของค่าทุกค่าที่ผู้ใช้กรอกเข้ามา แล้วแสดงผลลัพธ์ออกหน้าจอ int score[10]; int total=0; for (int i=0 ; i<=9; i++) { cin >> score[i]; total = total + i; } cout << “ผลลัพธ์คือ ” << total;

4. การแสดงผลข้อมูลอาร์เรย์ สามารถแสดงผลข้อมูลในอาร์เรย์แต่ละสมาชิกได้ โดยการอ้างชื่อและอินเด็กซ์ สามารถใช้ลูป for , while ,do เพื่อแสดงผลข้อมูลในอาร์เรย์ทั้งหมดได้ เช่น for(i=0;i<=9;i++) { cout << score[i] << endl; }

5. ตัวอย่าง

6. ตัวอย่าง #include <iostream> using namespace std; int main() { int age[5] = {20,4,7,9,100}; int min = age[0]; for (int i=0 ; i<5; i++) { cout << age[i] <<endl; if (age[i] < min) { min = age[i]; } cout << "Min age = "<< min <<endl; system("pause"); return 0;

7. การจองพื้นที่ในหน่วยความจำ การจองพื้นที่หน่วยความจำ ของอาร์เรย์จะจองพื้นที่ในหน่วยความจำต่อเนื่องกันไป ตั้งแต่สมาชิกเริ่มต้นตัวที่ 0 จนถึงตัวสุดท้าย ถ้าคะแนนที่เก็บเป็นข้อมูลชนิด int จะจองพื้นที่หน่วยความจำทั้งหมดเท่าไร่? ต้องคิดว่าคะแนน 1 ข้อมูล ใช้กี่ไบต์ แล้วคิดว่าถ้าคะแนนข้อมูลทั้งหมด จะใช้กี่ไบต์ สมมติว่า address เริ่มต้น score[0] คือ 0x5002 แล้ว address ของ score[9] อยู่ตำแหน่งใด

แบบฝึกหัด 1.1 สร้างตัวแปรอาร์เรย์ขึ้นมาเพื่อเก็บค่าเกรดเฉลี่ยของนักศึกษาจำนวน 5 คน โดยวนลูป ให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลเกรดเฉลี่ยผ่านทางคีย์บอร์ด แล้ววนลูปแสดงข้อมูลเกรดเฉลี่ยผ่าน ทางหน้าจอ

แบบฝึกหัด 1.2 ต่อมาให้ตรวจสอบว่าเกรดเฉลี่ยที่มากที่สุดคือ เกรดเฉลี่ยใด

แบบฝึกหัด 1.3 เพิ่มเติมข้อมูลว่านักศึกษาคนไหนที่ได้เกรดเฉลี่ยมากที่สุด

แบบฝึกหัด 1.4 เขียนโปรแกรมเพื่อเก็บข้อมูลคะแนนสอบของนักศึกษา โดยกำหนดให้รับข้อมูล จำนวนนักศึกษาว่ามีกี่คน แล้ววนลูปรับข้อมูลคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนผ่านทาง คีย์บอร์ด พร้อมแสดงข้อมูลผลรวมคะแนนสอบทั้งหมด และแสดงค่าเฉลี่ยคะแนน สอบที่ได้