การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สรุปผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่น
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ยินดีต้อนรับ คณะประเมินคุณภาพ เครือข่ายทันตกรรม ทุก ท่าน.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี “ ยินดีต้อนรับ คณะนิเทศงานจากสสจ.ชลบุรี ด้วยความยินดียิ่ง ” การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี

พันธกิจตำบลเขาซก ให้บริการสุขภาพองค์รวมครอบคลุมทั้งการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค รักษาพยาบาล และ ฟื้นฟูสภาพ พัฒนาระบบและกลไกการบริการสาธารณสุขตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย และทุกภาคส่วน ในการจัดการสุขภาพในพื้นที่

พื้นที่รับผิดชอบ 22.22 ตารางกิโลเมตร รพ.สต. 2 แห่ง - รพ.สต.เขาซก ข้อมูลทั่วไป พื้นที่รับผิดชอบ 22.22 ตารางกิโลเมตร รพ.สต. 2 แห่ง - รพ.สต.เขาซก - รพ.สต.บ้านชากนา อบต. จำนวน 1 แห่ง

จำนวนหมู่บ้านที่รับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน ข้อมูลทั่วไป จำนวนหมู่บ้านที่รับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน จำนวนประชากร 3,644 คน (ประชากรแฝง+แรงงานต่างด้าว 1,000 คน) หมู่ที่ / บ้าน หลังคาเรือน ประชากรทั้งหมด หมู่ที่ 1 บ้านคลองพลูล่าง 216 1,039 หมู่ที่ 2 บ้านเขาซก 159 754 หมู่ที่ 3 บ้านบึงสามง่าม 193 948 หมู่ที่ 4 บ้านชากนา 189 903 รวม 757 3,644

- นักวิชาการสาธารณสุข 2 คน - เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน 1 คน อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ - นักวิชาการสาธารณสุข 2 คน - เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน 1 คน - เจ้าพนักงานสาธารณสุข 1 คน สัดส่วนการรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ต่อประชากร คือ 1 : 911 คน

โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส 2 แห่ง ข้อมูลทรัพยากร โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส 2 แห่ง โรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง วัด 2 แห่ง โรงงาน/สถานประกอบการ 6 แห่ง

อาสาสมัครสาธารณสุข 39 คน (1:20 หลังคาเรือน) ข้อมูลทรัพยากร อาสาสมัครสาธารณสุข 39 คน (1:20 หลังคาเรือน) กองทุนหลักประกันสุขภาพ 1 กองทุน ชมรมสร้างสุขภาพ 4 ชมรม ชมรมผู้สูงอายุ 1 ชมรม ชมรม อย.น้อย 1 ชมรม ชมรมทูบีนัมเบอร์วัน 1 ชมรม

ปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญในพื้นที่ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง โรคไข้เลือดออก / ชิคุนกุนยา การตรวจมะเร็งปากมดลูก โรคสุกใส โรคมือเท้า ปาก

การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก กับ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

1. ร่วมวิเคราะห์ปัญหาและจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์โดย จนท 1. ร่วมวิเคราะห์ปัญหาและจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์โดย จนท.สาธารณสุข อสม. ผู้นำชุมชนและ อบต. 2. ดำเนินการตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (ขั้นตอนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์) ดังนี้ * ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องทราบถึงแผนที่ยุทธศาสตร์ของตำบล * เสนอแผนสู่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยสามารถขอรับ สนับสนุนงบประมาณได้อย่างเพียงพอในการดำเนินงาน * พัฒนาศักยภาพ อสม.เรื่องมะเร็งปากมดลูกและเต้านมร้อยละ100 * พัฒนารูปแบบการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ได้แก่

- การดำเนินงานเชิงรุกในสถานประกอบการ - การใช้สิ่งของการจูงใจแก่ผู้ที่มาตรวจเพื่อขยายผลต่อ - เพิ่มระยะเวลาการรณรงค์ตรวจเดือนละ 1 ครั้ง ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ รพ.สต. - การสร้างขวัญและกำลังใจแก่ อสม.ที่สามารถพา กลุ่มเป้าหมายมาตรวจมะเร็งปากมดลูก * เชิญเจ้าหน้าที่จากรพ.มาเป็นผู้ตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกครั้ง * พัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์เชิงรุกสู่ชุมชน เช่น สื่อรัก จากหมออนามัย แบบสอบถามกลับ หรือการใช้หนังสือเชิญ เข้ารับบริการตรวจแก่กลุ่มเป้าหมายทุกครั้ง เป็นต้น * การทำงานในรูปแบบโซน

สรุปผลการคัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูกตำบลเขาซก รพ.สต. สตรีกลุ่มเป้าหมาย ปี 2554 ตรวจมะเร็ง ปากมดลูก ร้อยละ เขาซก 71 100 บ้านชากนา 74 รวม 145

ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน

การคัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูกและเต้านม

การอบรมพัฒนาศักยภาพอสม.

แผนการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก ปี 2555 กลยุทธ์ การสร้างและพัฒนาเครือข่ายให้เข้มแข็ง การขยายเครือข่าย การพัฒนารูปแบบการสื่อสาร การสร้างนวตกรรมเพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงาน

“ สวัสดี ”