การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Service Plan สาขา NCD.
Advertisements

ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ความหมายและกระบวนการ
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์, วท.ด.(วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) ศูนย์อนามัยที่ 3 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข Pensri0701@gmail.com โครงการ การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายพื้นที่ต้นแบบ ตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย วันที่ 3 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนภาคกลาง จังหวัดชลบุรี

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน เรื่องอะไร เกณฑ์มาตรฐานของพฤติกรรมที่จะเปลี่ยน คือ อะไร ระยะเวลา ในการปรับเปลี่ยนนานเท่าไรถึงจะยั่งยืน

พฤติกรรมบริโภคที่ทำให้เกิดปัญหาสาธารณสุข กินมากไป อ้วน หวานมากๆ เบาหวาน กินไขมันเกิน หัวใจ , หลอดเลือด เค็ม ไต , ความดันโลหิตสูง กากใยน้อย ริดสีดวง แคลเซียมต่ำ กระดูก , ฟัน

พฤติกรรมสุขภาพที่ทำให้เกิดปัญหา/แก้ปัญหาสาธารณสุข การเจ็บป่วย เกิดปัญหา สาธารณสุข ไม่ถูกต้อง พฤติกรรม การป้องกันโรค พพ พฤติกรรม การส่งเสริมสุขภาพ แก้ไขปัญหา สาธารณสุข ถูกต้อง พฤติกรรม การมีส่วนร่วม

Approach กลุ่มประชาชนทั่วไป 1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6 ข้อ) 2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณสุข กลุ่มเสี่ยงสูง FCG 100 - 125 BP 120/80 – 139/89 ลงทะเบียน 3อ. 2ส. เข้มข้น DPAC กลุ่มปกติ FCG < 100 BP < 120/80 3อ. 2ส. กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน ตา ไต ตีน รักษาโรคและ ภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วย FCG > 126 BP >140/90 รักษาดูHbA1C ค้นหาภาวะแทรกซ้อน ถ่ายภาพจอประสาทตา microalbuminuria ตรวจเท้า

แนวคิดที่สำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน PRECEDE PROCEED Model OTTAWA CHARTER

PRECEDE PROCEED Model ใช้อธิบายพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มบุคคล ทฤษฎีอธิบายพฤติกรรมเชิงระบบ (Green และ Kreuter 1991) ใช้อธิบายพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มบุคคล เหมาะที่จะนำไปวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพและหาสาเหตุเพื่อวางแผนงานส่งเสริมสุขภาพต่อไป ครอบคลุมสาเหตุหลายๆ ด้าน เช่น สาเหตุทางสังคม สาเหตุทางพฤติกรรม สาเหตุทางด้านสิ่งแวดล้อม

PRECEDE PROCEED Model หลักการมีอยู่ 2 ประเด็น การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ

OTTAWA CHARTER

กลวิธีการดำเนินงานการส่งเสริมสุขภาพตามแนวทางของกฎบัตรออตตาวา 1 การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (Building Healthy Public Policy) 2 สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี (Creative Supportive Environment) 3 เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน (Strengthen Community Action) 4 พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Developed Personal Skill) 5 การปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข (Reorient Health Service)

กรอบแนวคิด : การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามสภาพปัญหาของชุมชน กระบวนการร่วมกันสรุป ประเมินผล สรุปบทเรียน โครงการ/กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ สอดคล้องกับสภาพปัญหาของชุมชน สุขภาพชุมชนดีขึ้น ร่วมวางแผน และแบ่งงานกัน กระบวนการร่วมคิด ตามโครงการ เกิดการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ ร่วมกิจกรรม พัฒนา สู่การดูแลสุขภาพชุมชน ได้เข้มแข็งและยั่งยืน ความต้องการด้านสุขภาพ ในมุมมองของชุมชน + ความจำเป็นด้านสุขภาพ ในมุมมองของผู้ทำงาน สุขภาพชุมชน/อสม. ปัญหาสุขภาพตาม สภาพของชุมชน กระบวนการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการคิด วิเคราะห์ปัญหา ชุมชนเข้มแข็ง + ชุมชนสุขภาพ วัฒนธรรมส่งเสริมสุขภาพ ชุมชนมีส่วนร่วม ในการเก็บข้อมูลต่อไปได้ และมีความรู้เพิ่มขึ้น ข้อมูลชุมชน + ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้ ทฤษฎีระบบ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้ ทฤษฎีระบบ Input พฤติกรรมบริโภคไม่เหมาะสมและการใช้แรงกายน้อย อ้วนและอ้วนลงพุงมาก Pre DM, Pre HT มาก Pt DM, HT คุมไม่ได้ Output -พฤติกรรมบริโภคเหมาะสมและการใช้แรงกายมากขึ้น - อ้วนและอ้วนลงพุงลดลง - Pre DM, Pre HT น้อยลง - Pt DM, HT คุมได้ Process - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี การกำหนดข้อตกลงร่วมกัน เป็นต้น

สรุป การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน สรุป การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน หาปัญหาสาธารณสุขที่แท้จริงของชุมชนให้ได้ โดยดูจาก สถานการณ์โรคย้อนหลัง 3-5 ปี กลุ่มเสี่ยงสูงต่างๆ พฤติกรรมการบริโภคที่ก่อให้เกิดปัญหา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หรือ การสร้างทักษะส่วนบุคคลเรื่องอะไร การมีส่วนร่วมของภาคี/การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ค่านิยมที่ดีในการบริโภคอาหาร การรวมกลุ่มเพื่อสุขภาพ มีสถานที่ออกกำลังกาย การกำหนดข้อตกลงร่วมกันของชุมชน และประชาชนนำไปปฏิบัติด้วย

จงเชื่อมั่น และทำให้เป็นจริง นพ.โสภณ เมฆธน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 15