การพัฒนาระบบงาน PMQA และ มติการประชุมคณะกรรมการอำนวยการ PMQA การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 2/2552 18 กุมภาพันธ์ 2552 การพัฒนาระบบงาน PMQA และ มติการประชุมคณะกรรมการอำนวยการ PMQA โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้า กลุ่มพัฒนาระบบริหาร กรมอนามัย
นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 1 การดำเนินการ PMQA ต้องให้ผู้บริหารระดับกลางมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและกำหนดทิศทางร่วมกัน ให้เน้นการนำ PMQA มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ และ ยุทธศาสตร์ โดยต้องประสานการพัฒนา PMQA เข้ากับงานประจำขององค์กร ต้องมีกลไกที่ดำเนินการที่เป็นเอกภาพและมีการ บูรณาการ (ทั้งหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ /หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน) ปรับปรุงบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ที่คอยสนับสนุนช่วยเหลือหน่วยงานหลัก รวมทั้งทำหน้าที่ M&E ในเรื่อง PMQA ด้วย กพร. กรมอนามัย
นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี 2552 1 เพื่อให้เกิดการประสานงานที่ดี จึงให้กำหนดบทบาทหน้าที่(Role and Function) ของหน่วยงานให้ชัดเจน - หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ - หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงานกลาง - หน่วยงานย่อย หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ ต้องเป็นหลักในการใช้ PMQA ในดำเนินการงาน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยง วางระบบงาน กระบวนงานหลัก กำลังคนที่ต้องพัฒนา และระบบ IS เพื่อให้มั่นใจว่า ยุทธศาสตร์จะบรรลุผล หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน ต้องกำหนด“ระบบงานเป้าหมาย”ที่จะพัฒนาในแผนพัฒนาองค์กร (โดยวิเคราะห์จากเกณฑ์ PMQA และ OFI ของหมวด1-6) และจัดทำแผนพัฒนา“ระบบงานเป้าหมาย” ที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ โดยจำแนกบทบาทของหน่วยงานเจ้าภาพ(PO) กับ หน่วยงานย่อยที่ประสานสอดคล้องกัน กพร. กรมอนามัย
เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย ?? 2 ปี ?? รางวัลคุณภาพแห่งชาติ(TQA) 650 คะแนน) ปี 54 ปี 53 รางวัล“คุณภาพแห่งชาติ” (TQC) (350 คะแนน) ปี 52 รางวัล PMQA “Success-ful Level” รางวัล PMQA “Fundamental Level” (52 ประเด็น)
3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA 1) ต้องบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรมอนามัย กรอบแนวคิดใหม่ที่ กรมอนามัยจะตอบโจทย์ 2) ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ก.พ.ร. ตาม “คำรับรอง” 3) ต้องพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้ได้ตาม เกณฑ์ PMQA หมวด 7 กพร. กรมอนามัย
เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการปี 2552 ที่กรมอนามัยพิจารณาแล้ว มิติ : ประสิทธิผล(50%) มิติ : ประสิทธิภาพ(15%) กองแผนฯ/เจ้าภาพยุทธ์ การบรรลุเป้าหมายระดับกระทรวง 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ (13) บรรลุเป้าหมายร่วมระหว่างกระทรวง (5) ความสำเร็จเรื่องศูนย์บริการร่วม (2) 8)ร้อยละการเบิกจ่ายงบลงทุน 4 กอง ค. 9) การประหยัดพลังงาน 3 สลก. 2) การบรรลุเป้าหมายระดับกลุ่มภารกิจ 10 10)ระบบต้นทุนต่อหน่วยฯ 3 กอง ค. 3) การบรรลุเป้าหมายระดับ กรม 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรม บรรลุผลผลิตตามเอกสารงบฯ 11) ระบบตรวจสอบภายใน 3 กตส. 12) แผนพัฒนา กม. 2 ศกม. ตัวชี้วัด ก.พ.ร.ปี52 4) ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5 14) ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 20 สลก./กพร. 5) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารราชการ 5 สลก. เจ้าภาพระบบงานฯ/คกก.สนับสนุนฯ 6) การป้องกันปราบปรามทุจริต 5 กอง จ. มิติ : พัฒนาองค์กร(20%) มิติ : คุณภาพบริการ(15%) กพร. กรมอนามัย
ประเด็นยุทธศาสตร์ (ภายใต้ PIRAB+ Six Key Function) อธิบดีให้แนวคิดการบูรณาการ โดยใช้ Matrix ระหว่าง PMQA กับประเด็นยุทธศาสตร์ หมวด1 หมวด2 หมวด3 หมวด4 หมวด5 หมวด6 ประเด็นยุทธศาสตร์ (ภายใต้ PIRAB+ Six Key Function) Out come 4 perspective หมวด 6 (กระบวนงาน) หมวด 5 (HRM) หมวด 4 (ระบบข้อมูล,KM) หมวด 3 (ให้ความสำคัญ C/SH) หมวด 2 (จัดทำแผน/ถ่ายทอด) หมวด 1 (การนำองค์กร) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 มิติที่ 1 ประสิทธิผล มิติที่ 2 คุณภาพบริการ มิติที่ 3 ประสิทฺภาพ มิติที่ 4 พัฒนาองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 PMQA ผลลัพธ์หมวด 7
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และการถ่ายทอด การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี(GG) อธิบดีให้แนวคิดการบูรณาการ โดยใช้ Matrix ระหว่าง PMQA กับประเด็นยุทธศาสตร์ หมวด 6 (กระบวนงาน) หมวด 5 (HRM) หมวด 4 (ระบบข้อมูล,KM) หมวด 3 (ให้ความสำคัญ C/SH) หมวด 2 (จัดทำแผน/ถ่ายทอด) หมวด 1 (การนำองค์กร) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 มิติที่ 1 ประสิทธิผล มิติที่ 2 คุณภาพบริการ มิติที่ 3 ประสิทฺภาพ มิติที่ 4 พัฒนาองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และการถ่ายทอด ผลลัพธ์หมวด 7 การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี(GG) การป้องกันปราบปรามทุจริต การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ระบบตรวจสอบภายใน ระบบควบคุมภายใน การเบิกจ่ายงบลงทุน ระบบต้นทุนต่อหน่วยฯ การประหยัดพลังงาน
เป้าหมายยุทธศาสตร์ กับ PMQA และระบบงานประจำ ใน “คำรับรอง” ประเด็นยุทธศาสตร์ 6 เรื่อง คำรับรองฯ 12 KPIs KPI 1-3 -เป้าหมายยุทธ์ (3 ระดับ) KPI 4 -ความพึงพอใจ KPI 5-6 -ป้องกันทุจริต -เปิดเผย KPI 8-11 -เบิกจ่าย –In. Audit –ต้นทุน –ประหยัด KPI 12 -พัฒนา กม. KPI 14 - PMQA ระบบ งานประจำ หมวด 7 (RM1-10) หมวด 1 (การนำองค์กร) หมวด 2 (แผน/ถ่ายทอด) หมวด 3 (ให้ความสำคัญ C/SH) หมวด 4 (ระบบข้อมูล,KM) หมวด 5 (HRM) หมวด 6 (กระบวนงาน) LD1-7 SP1-7 CS1-10 PMQA IT 1-7 HR1-5 เกณฑ์ 52 ประเด็น PM1-6
ให้เจ้าภาพระบบงานวิเคราะห์ระบบงานตาม FL แล้วบูรณาการให้เป็นระบบงานกลาง พร้อมกำหนดหลักเกณฑ์ ให้หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์/หน่วยย่อยไปประยุกต์ใช้ตามภารกิจหน้าที่ โดย คกก.สนับสนุน PMQA จะเป็น Fa ตามการร้องขอ คณะ กก. อนก.PMQA หน่วยงานเจ้าภาพ ประเด็นยุทธ์ หน่วยงานเจ้าภาพระบบงาน SM/SLM 6 แผ่น ที่ใช้แนวคิด PMQA วิเคราะห์ระบบงานตามเกณฑ์ FL 1 2 3 4 5 6 คำรับรองฯ กรม (SLM กรมที่บูรณาการกับระบบงาน) วางระบบงานแบบบูรณาการ ชี้แจง กระบวนการ&เกณฑ์คุณภาพ ของระบบงาน คำรับรองหน่วยงาน SLM(สำนัก/กอง/ศอ.) ระบบ แผนงาน ร่วมจัดทำ ทีมสนับสนุน PMQA ดำเนินงานตามคำรับรองฯ อย่างมีคุณภาพตามเกณฑ์ ติดตาม/สนับ สนุน/ประเมินผล ติดตามกำกับ/รายงาน /ประเมินผล
จ.ยุทธ์ ประยุกต์ใช้ PMQA กับการวางแผนยุทธศาสตร์ จ.ระบบงาน วางเกณฑ์ คุณภาพ & สนับสนุน ต้องวิเคราะห์ความเสี่ยง / ผลกระทบ(-) ของยุทธศาสตร์ และมีแผนจัดการ กำหนดระบบงานที่รองรับยุทธศาสตร์ กำหนดกระบวนหลักที่จะพัฒนาตาม SPO เน้นให้มีการจัดการ CRM ตามยุทธศาสตร์ ต้องการระบบข้อมูลอะไรรองรับยุทธศาสตร์ ต้องพัฒนาบุคลากรอย่างไรเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ระบบงาน และ Jigsaw เป็นระบบรวม (เพื่อสื่อสารหน่วย จ.ยุทธ์ +หน่วยย่อย) จัดทำแผนพัฒนาระบบงาน (ตามเกณฑ์ FL + OFI+ผลลัพธ์ตามหมวด 7) วิเคราะห์บทบาทของ จ.ระบบงาน/จ.ยุทธ์/หน่วยย่อย เพื่อให้ทุกหน่วยเข้า ใจบทบาทของกันและกัน กำหนดเกณฑ์คุณภาพของระบบงาน พร้อมแบบฟอร์มอย่างง่าย (เสนอหน่วย จ.ยุทธ์)
เกณฑ์PMQAระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) มุ่งเน้นปฏิบัติมากกว่าการเขียนรายงาน เน้นระบบงานและการสร้างความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ เน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและบูรณาการ เน้นการพัฒนามากกว่าการได้รางวัล เกณฑ์PMQAระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เกณฑ์ 90 คำถาม เกณฑ์ 52 ประเด็น
ระบบงานที่รองรับเกณฑ์ PMQA (FL 52 ประเด็น) ระบบการนำองค์การ (กพร.) ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล (กอง ผ.) ระบบการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH (สลก.) ระบบข้อมูลสารสนเทศ(กอง ผ.) ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล (กอง จ.) ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานสร้างคุณค่าและกระบวน งานสนับสนุน (สส./สว./กอง ค.) การสื่อสารภายในองค์การ (สลก.) ระบบการจัดการความรู้ขององค์การ (สทป./สนง.KM) Jigsaw
กระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ กระบวนการสร้างบรรยากาศ/มอบหมาย ระบบการนำองค์การ หมวด 2 วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนินการที่คาดหวัง กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ LD 1 กระบวนการกำหนด ทิศทางองค์การ หมวด 2 ระบบติดตามประเมินผล หมวด 4 LD 4 LD 1 ระบบสื่อสาร กระบวนการทบทวนผลการดำเนินงาน กระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ Two ways communication หมวด 1 LD 5 LD 2 กระบวนการกำกับ ดูแลองค์การที่ดี กระบวนการสร้างบรรยากาศ/มอบหมาย ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม LD 2 มอบอำนาจ LD 7 หมวด 3 ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 6 LD 3 LD 6 ด้านองค์การ การเรียนรู้ขององค์การ สร้างแรงจูงใจ หมวด4.2 หมวด 5 ด้านผู้ปฏิบัติการ ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล
กระบวนการรอง 1.1 การจัดทำแผนภาพ (Flow Chart) การดำเนินงาน 1.2 การวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์(รวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์) 1.3 การทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ฯ 1.4 การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ 1.5 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนบริหารทรัพยากร แผนบริหารความเสี่ยง 1.6 การจัดทำ MTEF 1.7 การจัดทำความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ 1.8 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติการประจำปี (ตามกรอบเวลา) 2.1 การกำหนดกลไกการสื่อสารและถ่ายทอดแผนปฏิบัติราชการ 2.2 การสื่อสารทำความเข้าใจแผน 4 ปี แผนประจำปี 2.3 การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน 2.4 การจัดทำคำรับรองปฏิบัติราชการ ของหน่วยงาน 2.5 การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน 2.6 การจัดทำรายละเอียด แผนงานโครงการของหน่วยงาน 3.1 การกำหนดกลไกการติดตามประเมินผล 3.2 การจัดทำ/ทบทวนระบบรายงานผลการดำเนินงาน 3.3 การรายงานผล 3.4 การจัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงาน ตัววัดต่าง ๆ 4.1 การสร้างช่องทางเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.2 การทบทวนแผน/ผล 4.3 การจัดทำฐานข้อมูลความรู้การดำเนินงาน
(4.1) ระบบข้อมูลสารสนเทศ IT 1,2,3,4 4.3 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.1 กระบวนงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ IT 5 4.2 กระบวนงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านวิชาการ/บริหารจัดการ 4.4 กระบวนงานบำรุงรักษาและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.5 กระบวนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารงาน 4.5 กระบวนงานประเมินผลระบบข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร
(4.2) ระบบการจัดการความรู้ การจัดทำแผนสนับสนุนการจัดการความรู้ของKM team การจัดทำแผน KM ที่รองรับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน การสร้างความรู้/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งExplicit /Tacit K ด้วยรูปแบบต่างๆ การจัดทำระบบคลังความรู้(ด้านElectronic) การประเมินผลการจัดการความรู้ขององค์การ
HR 3 การปรับปรุงระบบงาน HR 3 วางแผนและบริหารกำลังคน(ปริมาณและคุณภาพ) นโยบาย/แผนยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคล (หมวด 1+2) HR 3 แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลตามแนวทาง HR scorecard HR1 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร บรรยากาศในการทำงาน+แรงจูงใจ(การยกย่องชมเชย(HR3)) HR 3 การปรับปรุงระบบงาน -การมอบอำนาจการตัดสินใจ -ความคล่องตัว -การมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารจัดการ HR 3 การสรรหา คัดเลือก และการรักษาบุคลากร ผลลัพธ์การดำเนินการ (หมวด 7) HR 3 การพัฒนาบุคลากร - การประกันคุณภาพการฝึกอบรม การประเมินประสิทธิผล และความคุ้มค่า (HR4) HR 2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน HR 5 การสร้างความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน - บุคลากรทั่วไป - Talent/HIPPสายงานหลัก (HR3) - สืบทอดตำแหน่งบริหาร (HR3) HR 3 วางแผนและบริหารกำลังคน(ปริมาณและคุณภาพ) HR 3 – การจัดระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล - การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคล การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (หมวด 4)
(6) ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงาน สร้างคุณค่า / สนับสนุน การกำหนด/ทบทวนข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM2 การกำหนด/ทบทวนกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM1 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM3 กระบวนการสร้างคุณค่าที่รองรับต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน PM4 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานSOP ของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM5 การนำSOPไปปฏิบัติการปรับปรุงกระบวนการ สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุน PM6
กระบวนการวิเคราะห์ประเด็นการสื่อสาร ระบบการสื่อสาร กระบวนการวิเคราะห์ประเด็นการสื่อสาร 1.1 ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ระบบการสื่อสาร 1.2 สำรวจความต้องการประเด็นการสื่อสาร 1.3 สรุปผลสำรวจประเด็นการสื่อสาร 2. กระบวนการวางแผน และดำเนินการสื่อสารตามแผน 3. กระบวนการติดตามและประเมินผล Out Put = การรับรู้การสื่อสาร ระบบการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพทั่วทั้งองค์กร
(3) ระบบการเรียนรู้ความต้องการสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH ระบบงานของกรมอนามัย (3) ระบบการเรียนรู้ความต้องการสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH 7.1 กระบวนการวิเคราะห์ประเด็นการสื่อสาร 7.2 กระบวนการวางแผน / ดำเนินการสื่อสาร 7.3 กระบวนการติดตามและประเมินผล (7) ระบบการสื่อสารภายในฯ 1.1 กระบวนการกำหนด ทิศทางองค์การ LD 1 1.2 กระบวนการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ 1.3 กระบวนการสร้างบรรยากาศ LD 2 1.4 กระบวนการกำกับดูแลองค์การที่ดี LD 5 1.5 กระบวนการทบทวนผลการดำเนินงาน LD 4 (1) ระบบการนำองค์การ CS1 3.1กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดกลุ่ม C/SH 3.2 กระบวนการรับฟังและ รวบรวมความเห็นของ C/SH 3.4 กระบวนการเปิดโอกาสให้ C/SH มีส่วนร่วม (5 ระดบ) CS2 CS6 3.3 กระบวนการจัดการข้อร้องเรียนของ C/SH 3.5 กระบวนการปรับปรุงคุณภาพบริการ CS4 CS2,3 CS5 กระบวนการกำหนด Std./วิธีการ/ระยะเวลาการให้บริการ (ประกาศ/คู่มือ/แผนภูมิการให้บริการ) 6.กระบวนการสร้างเครือข่าย/กิจกรรมสัมพันธ์ กับ C/SH CS9 2.2 กระบวนการสื่อสารและถ่ายทอดไปสู่ การปฏิบัติ 2.1.กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการ 4ปี / รายปี 2.3 กระบวนการ ติดตามประเมิน 2.4 กระบวนการ ทบทวนแผน / ผล (2) ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล SP 1, 2,3,6,7 SP 2,4 SP 4,5,6 SP 5,6 (4) ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.1 กระบวนงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ 4.5 กระบวนงานประเมินผลระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร 4.4 กระบวนงานบำรุงรักษาและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.3 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.2 กระบวนงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านวิชาการ/บริหารจัดการ 4.5 กระบวนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารงาน IT 1,2,3,4 IT 5 IT 6 8. กระบวนการติดตาม ประเมินผลการปรับปรุงคุณภาพบริการ CS10 9. กระบวนการวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของ C/SH CS7,8 การกำหนด/ทบทวนกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM1 การกำหนด/ทบทวนข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM2 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM3 กระบวนการสร้างคุณค่าที่รองรับต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน PM4 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานSOP ของกระบวนการสร้างคุณค่า/สนับสนุน PM5 การนำSOPไปปฏิบัติการปรับปรุงกระบวนการ สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุน PM6 (6) ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานสร้างคุณค่า / สนับสนุน HR 3 การวางแผนและบริหารทรัพยากรบุคคล HR1 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร บรรยากาศในการทำงาน+แรงจูงใจ(การยกย่องชมเชย(HR3)) HR 3 การสรรหา คัดเลือก และการรักษาบุคลากร HR 5 การสร้างความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน - บุคลากรทั่วไป - Talent/HIPPสายงานหลัก - สืบทอดตำแหน่งบริหาร HR 3 การพัฒนาบุคลากร - การประกันคุณภาพการฝึกอบรม การประเมินประสิทธิผล และความคุ้มค่า (HR4) HR 3 การปรับปรุงระบบงาน -การมอบอำนาจการตัดสินใจ -ความคล่องตัว -การมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารจัดการ HR 3 – การจัดระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล - การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคล HR 2 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (5) ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดทำแผนสนับสนุนการจัดการความรู้ของKM team การจัดทำแผน KM ที่รองรับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน การสร้างความรู้/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งExplicit /Tacit K ด้วยรูปแบบต่างๆ การจัดทำระบบคลังความรู้(ด้านElectronic) (8) ระบบการจัดการความรู้ การประเมินผลการจัดการความรู้ขององค์การ
รางวัล PMQA ภาพรวม กับ ภาพหน่วยงานย่อย PMQA(FL) กรมอนามัย ศูนย์อนามัย สำนัก/กอง
บทบาทของหน่วยงานในระบบงานต่างๆ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 1 XXXXXXXX XXXXXX XXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXX 2 XXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX 3 XXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXX
มติที่ประชุมคณะอนก.PMQAครั้งที่ 4/2552 (16 ม.ค.2552)
มติที่ประชุม ให้ทำทุกประเด็นยุทธศาสตร์ และครบทุกระบบงาน (ทุกหมวด) ภายใต้เงื่อนไข “ร่วมทำเต็มที่ หวังผล เรียนรู้เป็นหลัก ได้คะแนนเป็นรอง” ข้อดี 1. ครอบคลุมทุกระบบ ทุกประเด็นยุทธศาสตร์ 2. เกิดการพัฒนาครอบตุลมทุกระบบไม่มีความลักลั่น ในการพัฒนา 3. ได้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด ข้อเสีย 1. เป็นเรื่องที่มีขั้นตอนยุ่งยาก 2. ใช้เวลาในการทำแต่ละประเด็น ยุทธศาสตร์
ปรับระบบงานเป็น 6 หมวด 1 เรื่อง ปรับระบบงานเป็น 6 หมวด 1 เรื่อง ระบบการนำองค์การ (กพร.) หมวด 1 ระบบแผนงานและการติดตามประเมินผล (กอง ผ.) หมวด 2 ระบบการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH (สลก.) หมวด 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศ (กอง ผ.) หมวด 4.1 ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล (กอง จ.) หมวด 5 ระบบการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานสร้างคุณค่าและกระบวนงานสนับสนุน (สส./สว./กอง ค.) หมวด 6 ระบบการสื่อสารภายในองค์การ (สลก.) เรื่อง ระบบการเรียนรู้ขององค์การ (สทป./สนง.KM) หมวด 4.2
ระบบงานที่ 6 (หมวด 6) เลือก 2 กระบวนงาน ที่จะประเมิน SOP ในปี 2552 1. กระบวนงานผลิตพัฒนาองค์ความรู้เทคโนโลยี และนวัตกรรม ด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม - ศึกษาวิจัย - จัดทำเกณฑ์/มาตรฐาน/คู่มือ/หลักสูตร 2. กระบวนงานถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม - สื่อสารมวลชน - สื่อบุคคล - รณรงค์สร้างกระแส
ประเด็นที่ระบบงานจะต้องเชื่อมโยงกับเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 1 1.1 การกำหนดนโยบาย และทิศทาง 4 ด้าน 11 เรื่อง 1.2 การติดตามกำกับ/ทบทวน จัดประชุมผู้บริหารเพื่อกำหนด และปฏิบัติตามนโยบาย รวบรวมประเมินผลนโยบายแต่ละด้านตามที่ได้รับมอบ หมาย ร่วมกำหนดและปฏิบัติตามนโยบาย รายงานผลการปฏิบัติ 2 2.1 การจัดทำแผนยุทธ-ศาสตร์(4ปี) และ แผน ปฏิบัติการประจำปี 2.2 การติดตามกำกับและทบทวนผลงานและแผนงาน จัดเวทีทำแผนและร่วมวิเคราะห์ในมิติระบบงาน /รวบรวมเป็นแผนยุทธ์กรมและการDeployเป้า จัดทำแผนพัฒนาระบบงานสนับสนุน วางระบบการราย- งานรองรับ(IT) วิเคราะห์ผลงานในภาพรวมตาม KPIsที่สำคัญเสนอผู้บริหาร เป็นหลักจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่ประ-สานPIRAB/PMQAครอบคลุม 4 มิติ วิเคราะห์ความเสี่ยง/ผล กระทบทางลบ ดำเนินการตามแผน กำหนด KPIsที่สำคัญ ติดตามผลและรายงานผลงาน วิเคราะห์ผลงานเสนอผู้บริหาร ร่วมพิจารณาในการจัดทำแผนยุทธ์/ตามภารกิจ ดำเนินการตามแผนความเสี่ยง/ผลกระทบทางลบ รายงานผลงาน ร่วมวิเคราะห์ผลงาน
ประเด็นที่ระบบงานจะต้องเชื่อมโยงกับเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 3 3.1 ระบบการรับฟัง C/SH 3.2 ระบบการจัดการข้อร้อง เรียน 3.3 ระบบการเปิดโอกาสให้ ปชช. มีส่วนร่วม 5 ระดับ 3.4 การสร้างเครือข่าย&กิจกรรมสัมพันธ์ 3.5 การกำหนดบริการที่จะปรับปรุงและวัดความพึงพอใจ วางระบบ & จัดทำแบบสำรวจกลาง จัดช่องทางรับเรื่อง & แจ้งหน่วยที่เกี่ยวข้องจัดการ ประสาน/รวบรวมผลงาน จัดเวทีเพื่อกำหนดบริการที่จะปรับ ปรุงและวัดความพึงพอใจ จัด Focus Gr.รายประเด็นยุทธ์ จัดการข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการสำรวจ (ศอ.1-12) จัดช่องทาง & จัด การข้อร้องเรียน 4.1 4.1.1 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางตามยุทธ์และพันธกิจ รวมทั้งระบบงาน 4.1.2 การพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง/เตือนภัย/ความเสี่ยง จัดการระบบข้อมูล /พัฒนาระบบ IT&การใช้ประโยชน์ เป็นแกนดำเนินการพัฒนา ร่วมเสนอความต้องการ & ใช้ประโยชน์ ร่วมพิจารณา & ดำเนินการตามเกณฑ์ ร่วมเสนอความต้องการ& ใช้ประโยชน์ ทุกหน่วยวิเคราะห์เนื้องานที่จะเปิดโอกาสตามระดับที่เหมาะสม กำหนดกิจกรรมสัมพันธ์กับ C/SH ตามยุทธศาสตร์และพันธกิจ พิจารณากำหนดบริการที่จะปรับปรุงและวัดความพึงพอใจตามยุทธศาสตร์
หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพ ระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 4.2 4.2.1 การจัดทำแผนจัดการความรู้และดำเนินการ 4.2.2 การจัดทำระบบคลังความรู้ จัดทำแผนสนับสนุน KMให้เจ้าภาพยุทธ์/หน่วยงานย่อย วางระบบ IT รองรับความรู้กลาง จัดทำแผน KM รองรับยุทธศาสตร์&ดำเนินการ(3เรื่อง) สร้างความรู้/สรุปบทเรียนส่งคลังความรู้กลาง จัดทำแผน KM ของหน่วยงานย่อย &ดำเนินการ 5 5.1 การวางแผนและบริหารกำลังคน 5.2 จัดทำแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล เป็นแกนจัดทำแผนบริหารกำลังคน - Role Profile - วิเคราะห์ปริมาณ/ คุณภาพ - การสรรหา/เกลี่ย กำลังคน - Career path เป็นแกนจัดทำแผน พัฒนาฯภาพรวม - รองรับยุทธ์/ภารกิจ - จัดทำกรอบการทำ IDP / HiPPS - พัฒนาเรื่องกลางๆ - Succession Plan - กรอบการประเมิน บุคคล ร่วมพิจารณาเกณฑ์ /เสนอความต้อง การ ร่วมเสนอความเห็น &ดำเนินการในฐานะ Line Manager พัฒนาในเรื่องวิชาการเฉพาะ จัดทำ Performance Managementและประเมิน ร่วมพิจารณาเกณฑ์ /เสนอความต้องการ ร่วมเสนอความ เห็น & ดำเนินการในฐานะLine Manager
ประเด็นที่ระบบงานจะต้องเชื่อมโยงกับเจ้าภาพยุทธศาสตร์ หมวด /ระบบ ประเด็นเรื่อง บทบาท เจ้าภาพระบบงาน เจ้าภาพ ยุทธศาสตร์ หน่วยงานย่อย 5 (ต่อ) 5.3 การสร้างความผาสุก/ความพึงพอใจของบุคลากร เป็นแกนวิเคราะห์ปัจจัยการสร้างความผาสุก & จัดทำแผน ประเมินผล/ดำเนิน การอย่างต่อเนื่อง ร่วมวิเคราะห์ และ ดำเนินการตามแผนในฐานะ Line manager 6 6.1 การกำหนดกระบวนงานที่จะปรับปรุงและพัฒนา 6.2 การปรับปรุงพัฒนากระบวนงาน เป็นแกนทำเกณฑ์ & จัดเวทีสนับสนุน & ร่วมจัดทำ SOP จัดเวทีประเมินผล/ลปรร. เพื่อพัฒนาปรับปรุง วิเคราะห์/กำหนดกระบวนหลักสนับ สนุน &จัดทำ SOP ปฏิบัติตาม SOP & ร่วมประเมินผล ร่วมวิเคราะห์/กำหนดกระบวนหลักสนับ สนุน &จัดทำ SOP ปฏิบัติตาม SOPร่วมประเมินผล 7 7.1 การสื่อสารภายในองค์การ วางระบบการสื่อสาร & ดำเนินการสื่อสารให้บุคลากรรับรู้ เสนอเรื่องที่จะสื่อสารภายใน ดำเนินการสื่อสารภายในหน่วยย่อย
เพื่อให้การเชื่อมโยง PMQA กับ ยุทธศาสตร์เป็นเนื้อเดียวกัน จึงกำหนดให้การจัดทำแผนปฏิบัติการรอบปี 53 จะบูรณาการ PMQA เข้าไปในการทำแผนงานอย่างจริงจัง โดยจะเริ่มในเดือน พฤษภาคม 52 นี้ คณะ กก. อนก.PMQA หน่วยงานเจ้าภาพ ประเด็นยุทธ์ หน่วยงานเจ้าภาพระบบงาน SM/SLM 6 แผ่น ที่ใช้แนวคิด PMQA วิเคราะห์ระบบงานตามเกณฑ์ FL 1 2 3 4 5 6 คำรับรองฯ กรม (SLM กรมที่บูรณาการกับระบบงาน) วางระบบงานแบบบูรณาการ ชี้แจง กระบวนการ&เกณฑ์คุณภาพ ของระบบงาน คำรับรองหน่วยงาน SLM(สำนัก/กอง/ศอ.) ระบบ แผนงาน ร่วมจัดทำ ทีมสนับสนุน PMQA ดำเนินงานตามคำรับรองฯ อย่างมีคุณภาพตามเกณฑ์ ติดตาม/สนับ สนุน/ประเมินผล ติดตามกำกับ/รายงาน /ประเมินผล
สวัสดี กพร. กรมอนามัย