นางธิโสภิญ ทองไทย และคณะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
Advertisements

การวิจัย RESEARCH.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
นาวาโทสมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T. Nurse
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
ผลงานวิจัย ทัศนคติการบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลังของผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก สิงหาคม 2543 โดย นายเกตุ ชูพันธ์ นายสมควร เดชะศิลารักษ์
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
หนังสือเล่มแรก Bookstart
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
โมบายร้องเล่นเต้นเพลิน
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ส่งเสริมสัญจร.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
สกลนครโมเดล.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
โครงการเยี่ยมบ้านนักศึกษาโรงเรียนแลมป์-เทค จังหวัดลำปาง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการสำคัญ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย.
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การวิจัยนิเทศศาตร์FCA2101
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางธิโสภิญ ทองไทย และคณะ การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก A study of using “Newborn gift set” to support for child’s development โดย นางธิโสภิญ ทองไทย และคณะ ศูนย์อนามัยที่ ๖

+ หลักการและเหตุผล ปี 2548 นโยบายรัฐบาล เป้าหมายแผนฯ ฉบับที่ 9 การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก หลักการและเหตุผล เป้าหมายแผนฯ ฉบับที่ 9 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ปี 2548 นโยบายรัฐบาล วางรากฐานพัฒนาการเรียนรู้ ตั้งแต่แรกเกิด โดยจัดโอกาสการเรียนรู้ ให้เข้าถึงครอบครัวและชุมชน ทั่วประเทศ + มอบให้เด็กที่เกิดในวันที่ 28 กรกฎาคม 2548 – 27 กรกฎาคม 2549 (ระยะเวลา 1 ปี)

การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจของพ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กในการใช้ "ถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด" เพื่อการกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2. เพื่อประเมินการปฏิบัติของพ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กในการใช้ "ถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด" เพื่อการกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

ขอบเขตการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ขอบเขตการวิจัย โรงพยาบาลชุมชน ในเขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 จังหวัดละ 1 โรงพยาบาล รวม 7 แห่ง วิธีดำเนินการวิจัย รูปแบบวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ประชากร คือ พ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กในเขตรับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 6 ที่ได้รับถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด กลุ่มตัวอย่าง คือ พ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กที่ได้รับถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด จำนวนทั้งหมด 70 คน ได้จากการสุ่มแบบเจาะจงจากผู้มารับบริการที่ได้รับถุงรับขวัญเด็กแรกเกิดใน รพช.รพ.ละ 10 คน จาก รพช.ในพื้นที่ 7 จังหวัดในเขตรับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 6 จังหวัดละ 1 แห่ง คือ รพ.พล, รพ.วาปีปทุม, รพ.โพนทอง, รพ.โพนพิสัย, รพ.ศรีบุญเรือง, รพ.วังสะพุง และ รพ.กุมภวาปี

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของพ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก และข้อมูลทั่วไปของเด็ก ส่วนที่ 2 ประเด็นคำถามในการสนทนากลุ่มพ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กที่ได้รับ “ถุงรับขวัญ เด็กแรกเกิด”

การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก การเก็บรวบรวมข้อมูล ชี้แจงวัตถุประสงค์การศึกษากับกลุ่มตัวอย่าง ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไปและสนทนากลุ่มตามประเด็นคำถาม พร้อมบันทึกคำสนทนา การวิเคราะห์ข้อมูล 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มสนทนาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม สำเร็จรูป SPSS/PC+ด้วยการแจกแจงความถี่และร้อยละ 2. ข้อมูลจากการสนทนากลุ่มใช้การวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการศึกษา ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของ การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ผลการศึกษา ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของ พ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก และข้อมูล ทั่วไปของเด็ก ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ

ส่วนที่ 1 1.1ข้อมูลทั่วไปของพ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนที่ 1 1.1ข้อมูลทั่วไปของพ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก - เป็นเพศหญิงมากที่สุด ร้อยละ 84.3 - ส่วนใหญ่เป็นมารดา ร้อยละ 77.1 - ช่วงอายุระหว่าง 20-30 ปี ร้อยละ 52.9 - สถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 91.4 - การศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 45.7 - อาชีพเกษตรกรรมมากที่สุด ร้อยละ 31.4 - รายได้ต่ำกว่า 5,000 บาท ร้อยละ 60.0

ส่วนที่ 1 1.2 ข้อมูลทั่วไปของเด็ก - เป็นเพศหญิงมากที่สุด ร้อยละ 52.9 การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนที่ 1 1.2 ข้อมูลทั่วไปของเด็ก - เป็นเพศหญิงมากที่สุด ร้อยละ 52.9 - ส่วนใหญ่เป็นบุตรลำดับที่ 2 ร้อยละ 45.7 - ช่วงอายุระหว่าง 5- 6 เดือน ร้อยละ 48.6 - ส่วนใหญ่คลอดที่ รพช. 78.6 - ผู้เลี้ยงดูหลักช่วงกลางวันส่วนใหญ่ คือ มารดา ร้อยละ 77.1

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด : เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการแจกถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด - ใช้เพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้านการเรียนรู้ การสัมผัส การดู การฟัง ภาษา การจำและการเข้าใจรูปทรงมิติต่างๆ - ใช้ได้ตั้งแต่แรกเกิดจนโตเริ่มเข้าโรงเรียน - วัสดุปลอดภัย ทนทาน ทำความสะอาดง่าย - พึงพอใจมากที่ได้รับ - มีความคิดเห็นว่าลูกคนที่ได้รับถุงรับขวัญฯมีพัฒนาการรับรู้ ฟัง พูดเร็ว และอารมณ์ดีกว่าลูกคนแรกที่ไม่ได้รับ

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.2 การปฏิบัติในการนำถุงรับขวัญฯไปใช้ : ร้อยละ 77.1 มีการปฏิบัติในการใช้ได้เหมาะสม - ของเล่นที่ใช้บ่อยตามลำดับ คือ โมบาย ผ้าพัฒนาการ ซีดีเพลง หนังสือสัมผัส ร้องเล่นเต้นเพลิน หนังสือนุ่มนิ่ม

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.2 การปฏิบัติในการนำถุงรับขวัญฯไปใช้ (ต่อ) - หนังสือรับขวัญวันสมองสดใส หนังสือนมแม่ พบว่า ร้อยละ 82.9 จะอ่านแต่ไม่ได้อ่านทุกวัน ส่วนกลุ่ม ปู่ ตา ย่า ยาย ร้อยละ 11.4 ไมได้อ่าน เนื่องจาก มีปัญหาด้านสายตา

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.2 การปฏิบัติในการนำถุงรับขวัญฯไปใช้ (ต่อ) - ของที่ไม่ค่อยได้ใช้ คือ สติกเกอร์ และเทปเพลง (ไม่มีเครื่องเล่นเทป)

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.3 การดูแลรักษาถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด - ร้อยละ 34.0 ยังปฏิบัติ ไม่เหมาะสม โดยยังใช้ ผงซักฟอก และ เครื่องซักผ้า ในการทำ ความสะอาดผ้าพัฒนาการ และโมบาย

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.4 วิธีการส่งเสริมความฉลาด - ร้องเพลงกล่อม เล่านิทาน อ่านหนังสือให้ฟัง เปิดซีดีเพลงที่ขับร้องโดยเด็ก หรือที่พ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กชอบฟัง ซื้อของเล่นที่มีตามท้องตลาด เช่น กรุ๋งกริ๋ง ตุ๊กตา ลูกบอล เป็นต้น ส่วนใหญ่บอกว่าคุณภาพไม่ดีและคงไม่ครบถ้วนเท่าของที่ได้ในถุงรับขวัญฯ

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.5 ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนที่ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.5 ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง - ต้องการให้ผ้าพัฒนาการมีความหนานุ่มมากขึ้น - โมบายมีขนาดใหญ่ขึ้น มีเสียงดนตรีประกอบ - ซีดีเพลงมีภาพประกอบ เมื่อเด็กโตขึ้นสามารถดูได้ - ให้มีของเล่นที่หลากหลาย เช่น หุ่น ตุ๊กตา รถยนต์ - ให้มีภาษาอังกฤษแทรกในหนังสือร้องเล่นเต้นเพลิน และในซีดี - หากต้องจ่ายเงินซื้อเอง สามารถซื้อได้ในราคา 200-300 บาท

ข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย - ดำเนินโครงการในระยะยาวโดยให้ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการซื้อ โดยรัฐจำหน่ายในราคาย่อมเยา - ประชาสัมพันธ์ แนะนำการใช้ การดูแลรักษาที่เหมาะสม ง่ายต่อการนำไปใช้ - จัดทำโครงการเพื่อคิดค้นนวตกรรมของเล่น โดยรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น และผลิตทดแทนของเล่นดังเช่นในถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด

การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ข้อเสนอแนะ เชิงวิจัย - ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อประเมินผลพัฒนาการเด็กที่ได้รับถุงรับขวัญเด็กแรกเกิดในระยะยาวว่าเป็นอย่างไร - เปรียบเทียบพัฒนาการเด็กที่ได้รับถุงรับขวัญเด็กแรกเกิดกับไม่ได้รับ ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ เพื่อประเมินความคุ้มค่า

การศึกษาการใช้ “ถุงรับขวัญเด็กแรก” เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก การนำไปใช้ประโยชน์ 1. เป็นข้อมูลในการปรับปรุงพัฒนาการผลิตให้เหมาะสมกับความต้องการและการใช้งาน 2. เป็นข้อมูลสำหรับพยาบาลให้เห็นความสำคัญในการกระตุ้น ส่งเสริมให้สมาชิกครอบครัว เช่น สามี ปู่ ย่า ตา ยาย หรือญาติคนอื่นๆ เข้ามามีบทบาทในการใช้ถุงรับขวัญเด็กแรกเกิดให้มากขึ้น 3. เป็นข้อมูลสำหรับพยาบาลผู้ทำหน้าที่ให้คำแนะนำการใช้ถุงรับขวัญฯ ในการให้คำแนะนำการใช้ และการดูแลรักษาให้เหมาะสม ยืดอายุการใช้งาน เกิดความคุ้มค่า 4. เป็นข้อมูลสำหรับองค์กรของรัฐหรือองค์กรอื่นๆในการพัฒนาและผลิตเพื่อการจำหน่ายในราคาที่ย่อมเยา สามารถตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้

ขอบคุณค่ะ