ประเด็นการประเมินผลคะแนน 1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 52 โดยใช้ข้อมูลนำเข้าที่กำหนด10 2. แผนปฏิบัติการ ปี 52 มีประเด็นตามที่กำหนด และได้รับความ เห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ปี 52 แล้วเสร็จครบถ้วน และ ตัวชี้วัดมีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ และ ได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน ดำเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริตฯได้ครบถ้วน10 6. การมีส่วนร่วมของหน่วยงานในกิจกรรมส่วนรวมเกี่ยวกับการ สร้างราชการใสสะอาดและการป้องกันการทุจริตของกรมอนามัย ตามที่ เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 6 และ/หรือคณะทำงานส่งเสริมสนับสนุนการรักษา จรรยาข้าราชการกรมอนามัย กำหนด 30 ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต น้ำหนัก : ร้อยละ 100 พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินการตามประเด็นการประเมินผล
1.มีการจัดทำแผนฯ ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการการสร้างราชการใสสะอาดและการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ของกรมอนามัย ปี 52 (จะแจ้งเวียนหน่วยงาน และ นำขึ้น เว็บ กรมอนามัยใสสะอาดภายใน 31 มี.ค. 52) และ สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน โดยใช้ข้อมูล จาการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลของหน่วยงาน ดังนี้ 1.1 ความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต 1.2 ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ปี ข้อมูลที่ได้จากระบบการรับฟังข้อร้องเรียน 1.4 วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต อย่างน้อย 1 โครงการ (โครงการที่ได้รับงบประมาณสูงสุด หรือ โครงการสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของกรม อนามัย ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552) 1.มีการจัดทำแผนฯ ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการการสร้างราชการใสสะอาดและการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ของกรมอนามัย ปี 52 (จะแจ้งเวียนหน่วยงาน และ นำขึ้น เว็บ กรมอนามัยใสสะอาดภายใน 31 มี.ค. 52) และ สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน โดยใช้ข้อมูล จาการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลของหน่วยงาน ดังนี้ 1.1 ความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต 1.2 ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ปี ข้อมูลที่ได้จากระบบการรับฟังข้อร้องเรียน 1.4 วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต อย่างน้อย 1 โครงการ (โครงการที่ได้รับงบประมาณสูงสุด หรือ โครงการสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของกรม อนามัย ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552) ประเด็นการประเมินผลคะแนน 1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 52 โดยใช้ข้อมูลนำเข้าที่กำหนด10 เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลด 1-3 คะแนนตามคุณภาพของการวิเคราะห์ข้อมูล หลักฐาน : เอกสารที่แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลในข้อ 1.1 – 1.4
แบบรายงานแผน – 52/2
ประเด็นการประเมินผลคะแนน 2. แผนปฏิบัติการ ปี 52 มีประเด็นตามที่กำหนด และได้รับความ เห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน แผนฯ ระบุกิจกรรม/โครงการ 2.1 สอดคล้องกับ แผนปฏิบัติการ ปี 52 ของกรมอนามัย 2.2 ครอบคลุมการบริหารความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริตฯ โครงการสำคัญ อย่างน้อย 1 โครงการที่กำหนดในข้อ 1 * และแผนปฏิบัติการฯต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 2. แผนฯ ระบุกิจกรรม/โครงการ 2.1 สอดคล้องกับ แผนปฏิบัติการ ปี 52 ของกรมอนามัย 2.2 ครอบคลุมการบริหารความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริตฯ โครงการสำคัญ อย่างน้อย 1 โครงการที่กำหนดในข้อ 1 * และแผนปฏิบัติการฯต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนน 1-5 คะแนนตามคุณภาพและความทันเวลาในการส่ง หลักฐาน : รายงานตาม แบบรายงานที่กำหนด (ส่งมาพร้อมรายงานรอบ 6 เดือน)
แบบรายงานแผน – 52/1
ประเด็นการประเมินผลคะแนน 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ปี 52 แล้วเสร็จครบถ้วน และ ตัวชี้วัดมีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ฯ 2552 ของหน่วยงาน 3.1 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน และ 3.2 ตัวชี้วัดที่ระบุในแผนปฏิบัติการฯ มีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ฯ 2552 ของหน่วยงาน 3.1 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน และ 3.2 ตัวชี้วัดที่ระบุในแผนปฏิบัติการฯ มีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนนตามสัดส่วนของความครบถ้วนของการดำเนินการตาม แผนฯ และผลสำเร็จตามเป้าหมาย หลักฐาน : รายงานตามแบบรายงานที่กำหนด และ หลักฐานการดำเนินงานตามแผน
แบบสรุปผลงาน – 52/1
ประเด็นการประเมินผลคะแนน 4. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ และ ได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนฯ 4.1 รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ปี 53 ได้แล้วเสร็จ 4.2 พร้อมทั้งได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 4. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนฯ 4.1 รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ปี 53 ได้แล้วเสร็จ 4.2 พร้อมทั้งได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนน 1-3 คะแนน ตามคุณภาพของการจัดทำรายงานและ ความทันเวลาในการจัดส่งรายงานตามเวลาที่กำหนด หลักฐาน : หลักฐานเดียวกับข้อ 3
ประเด็นการประเมินผลคะแนน 5. ดำเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริตฯได้ครบถ้วน10 5. ดำเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียน ของเจ้าหน้าที่ในสังกัดในปี 52 ได้ ครบถ้วน 5.1 เรื่องการทุจริตหรือการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และ 5.2 ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการ 5. ดำเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียน ของเจ้าหน้าที่ในสังกัดในปี 52 ได้ ครบถ้วน 5.1 เรื่องการทุจริตหรือการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และ 5.2 ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการ เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนนตามสัดส่วนของความไม่ครบถ้วนในการดำเนินการ ตอบสนองต่อข้อร้องเรียนฯ หลักฐาน : รายงานตามแบบรายงานที่กำหนด
แบบรายงานการตอบสนองข้อร้องเรียน - 52
ประเด็นการประเมินผลคะแนน 6. การมีส่วนร่วมของหน่วยงานในกิจกรรมส่วนรวมเกี่ยวกับการ สร้างราชการใสสะอาดและการป้องกันการทุจริตของกรมอนามัย ตามที่ เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 6 และ/หรือคณะทำงานส่งเสริมสนับสนุนการรักษา จรรยาข้าราชการกรมอนามัย กำหนด 30 เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนนตามสัดส่วนของการไม่เข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด หลักฐาน : รวบรวมจากเจ้าภาพกิจกรรมโดยตรง เช่น - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนางานสร้างราชการใสสะอาด และการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตของกรมอนามัย” เมื่อ ก.พ. 52 รร. เอบี น่า เฮาส์ (ทุกหน่วยงาน) - โครงการสร้างเสริมจรรยาข้าราชการเพื่อพัฒนาจิตสำนึกที่ดีในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรกรมอนามัย ณ สวนป่าสุขกาโร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา เดือน พ.ค. 52 (เฉพาะหน่วยงานส่วนกลาง) - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “สร้างความเข้มแข็งให้กับเจ้าหน้าที่และ เครือข่ายภาคประชาชน” ( ทุกหน่วยงาน ) เป็นต้น เช่น - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนางานสร้างราชการใสสะอาด และการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตของกรมอนามัย” เมื่อ ก.พ. 52 รร. เอบี น่า เฮาส์ (ทุกหน่วยงาน) - โครงการสร้างเสริมจรรยาข้าราชการเพื่อพัฒนาจิตสำนึกที่ดีในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรกรมอนามัย ณ สวนป่าสุขกาโร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา เดือน พ.ค. 52 (เฉพาะหน่วยงานส่วนกลาง) - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “สร้างความเข้มแข็งให้กับเจ้าหน้าที่และ เครือข่ายภาคประชาชน” ( ทุกหน่วยงาน ) เป็นต้น
1.หน่วยงานต้องจัดทำและส่งรายงาน/หลักฐานอ้างอิงไปยังผู้ประสานงาน 1) รายงานประเมินผลตนเองตามแบบที่ กพร. กรมอนามัยกำหนด 2) แบบรายงานแผน – 52/1 และแบบรายงานแผน – 52/2 3) แบบสรุปผลงาน – 52/1 และแบบสรุปผลงาน – 52/2 4) แบบรายงานการตอบสนองข้อร้องเรียน -52 และ 5) หลักฐานอ้างอิง 2. กรณีที่ส่งรายงาน และ/หรือหลักฐานอ้างอิง เกินกว่า ระยะเวลาที่ กพร. กรม อนามัยกำหนด ในแต่ละครั้ง รอบ 6 9 และ 12 เดือน จะพิจารณาปรับลดครั้งละ คะแนน ตามความเหมาะสม 3. กรณีส่งรายงาน และ/หรือหลักฐานอ้างอิงทางอีเมล์ โปรดตรวจสอบว่าได้ส่งถึง ผู้รับแล้ว 1.หน่วยงานต้องจัดทำและส่งรายงาน/หลักฐานอ้างอิงไปยังผู้ประสานงาน 1) รายงานประเมินผลตนเองตามแบบที่ กพร. กรมอนามัยกำหนด 2) แบบรายงานแผน – 52/1 และแบบรายงานแผน – 52/2 3) แบบสรุปผลงาน – 52/1 และแบบสรุปผลงาน – 52/2 4) แบบรายงานการตอบสนองข้อร้องเรียน -52 และ 5) หลักฐานอ้างอิง 2. กรณีที่ส่งรายงาน และ/หรือหลักฐานอ้างอิง เกินกว่า ระยะเวลาที่ กพร. กรม อนามัยกำหนด ในแต่ละครั้ง รอบ 6 9 และ 12 เดือน จะพิจารณาปรับลดครั้งละ คะแนน ตามความเหมาะสม 3. กรณีส่งรายงาน และ/หรือหลักฐานอ้างอิงทางอีเมล์ โปรดตรวจสอบว่าได้ส่งถึง ผู้รับแล้ว เงื่อนไข: ผู้ประสานงาน : นางสาวรัชวรรณ กล้าปีกแดง address: กลุ่มยุทธศาสตร์บริหารงานบุคคลและประสานราชการใสสะอาด กองการเจ้าหน้าที่ กรมอนามัย โทรศัพท์: โทรสาร: และ
ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ น. ความประพฤติชั่ว ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางกายเรียกว่า กายทุจริต ถ้าเป็น ความประพฤติชั่วทางวาจา เรียกว่า วจีทุจริต ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางใจ เรียกว่า มโนทุจริต ก. โกง เช่น การทุจริตในการสอบ คดโกง, ฉ้อโกง เช่นทุจริตต่อหน้าที่ ว. ไม่ซื่อตรง เช่น คนทุจริต ทุจริต คำว่า “โดยทุจริต “ เป็นคำที่มีความหมายพิเศษ ที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 1 (1) แสดงถึงมูลเหตุจูงใจให้บุคคลกระทำ “เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่ มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำหรับตนเองหรือผู้อื่น” “ทุจริตต่อหน้าที่” ตาม พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ มาตรา 4 หมายถึง “การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใด อย่างหนึ่งในตำแหน่งหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทำให้ผู้อื่นเชื่อ ว่ามีตำแหน่งหรือหน้าที่ทั้งที่ตนมิได้มีตำแหน่งหรือหน้าที่นั้น หรือใช้อำนาจใน ตำแหน่งหน้าที่ทั้งนี้เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสำหรับตนเองหรือ ผู้อื่น” การทุจริตต่อหน้าที่ มีความหมายเช่นเดียวกับการประพฤติไม่ ชอบ แต่ไม่แพร่หลายมากนัก หมายถึงกรณีที่ เจ้าหน้าใช้ตำแหน่งหน้าที่ไปในทางที่ ไม่ถูกต้อง แต่ไม่เกี่ยวข้องกับการเรียกร้องเงิน
การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นไม่ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งในตำแหน่งหรือ หน้าที่หรือ ใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่ไม่ควรได้โดยชอบสำหรับ ตนเองหรือผู้อื่น หรือ ใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่อันเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบบังคับ คำสั่ง มติ ของคณะรัฐมนตรีอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งมุ่งหมายจะควบคุมดูแล การรับ การเก็บรักษา การใช้เงินหรือทรัพย์สินของ แผ่นดิน ไม่ว่าการปฏิบัติหรือละเว้นไม่ปฏิบัตินั้น เป็นการทุจริตในวงราชการด้วยหรือไม่ก็ ตาม และให้ความหมายรวมถึงการประมาทเลินเล่อในหน้าที่ดังกล่าว ความหมายการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการนี้เทียบได้กับคำว่า Corruption ในภาษาอังกฤษ
ธานินทร์ กรัยวิเชียร ได้ให้ความเห็นว่า Corruption น่าจะหมายถึงการ “ฉ้อ ราษฎร์บังหลวง” ซึ่งมีความหมายกว้างกว่า คำว่า การทุจริต โดยคำว่า คอร์รัปชั่นนั้น หมายถึง การเบียดบังหรือยักยอกทรัพย์ของรัฐและของสาธารณะ โดยรวมถึงการ กินสินบาดคาดสินบนและแสวงหาอำนาจโดยวิธีการอันผิดทำนองคลองธรรม ซึ่ง อาจไม่ผิดต่อกฎหมายอาญา แต่ก็ถือว่าเป็นการคอร์รัปชั่นด้วย จากความคิดเห็นของนักวิชาการหลายๆท่านจึงสรุปความหมายของคำว่า คอร์รัปชั่น หมายถึง การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ตำแหน่งหรืออำนาจในหน้าที่ในการ แสวงหาประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นซึ่งถือว่าเป็นการกระทำที่มิชอบด้วยกฎหมาย แบบแผนการทุจริตมีหลายรูปแบบ คือ การทุจริตอย่างเป็นระบบ(Systemic) อย่างแพร่หลาย (Pervasive) อย่างที่เป็นกิจวัตร(Routine) อาจจะมีขนาดเล็ก (Petty) เป็นครั้งคราว(Sporadic) ไม่ใคร่สำคัญ (Trivial) และเบาบาง (Rare) ฯลฯ
การทุจริตโดยทั่วไปในปัจจุบันมีลักษณะดังต่อไปนี้ การให้และการรับสินบน (การขู่เข็ญบังคับและการให้สิ่งล่อใจ) การฉกฉวยและการแปรรูปทุนของรัฐ การใช้ทรัพยากรของรัฐไปในทางมิชอบ (การปลอบแปลงเอกสาร การฉ้อฉล การใช้กองทุนของรัฐไปในทางมิชอบ) การไม่กระทำตามหน้าที่ การใช้อิทธิพลทางการค้า (แสดงบทบาทเป็นนายหน้าหรือมีผลประโยชน์ทับ-ซ้อน) ยอมรับของขวัญที่ไม่ถูกต้อง (เช็คของขวัญมูลค่าสูง) ปกปิดการบริหารงานที่ไม่ถูกต้อง (การปิดบังและการให้การเป็นเท็จ) ใช้อำนาจในทางที่ผิด (ข่มขู่ คุกคามและทำร้ายให้เกิดความเกรงกลัว) การใช้กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่าง ๆ (อย่างมีคติและลำเอียง) การทุจริตการเลือกตั้ง (การซื้อเสียงและการทุจริตด้วยวิธีต่าง ๆ) การแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ (การเรียกเก็บส่วนแบ่งอย่างผิดกฎหมาย) ผู้อุปถัมภ์กับประชานิยม (นักการเมืองให้เงินทองสิ่งของเพื่อแลกเปลี่ยนกับการ ได้รับการสนับสนุนจากประชาชน) การบริจาคเพื่อช่วยเหลือ การรณรงค์ที่ผิดกฎหมาย (การให้บริจาคเพื่อที่จะมี อิทธิพลต่อการกำหนดนโยบาย และการออกกฎหมาย)