VRE ในโรงพยาบาลศิริราช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Surgical Preparation Operating Room HatYai Hospital HatYai, Songkhla.
Advertisements

สาขาวิชาศัลยศาสตร์หลอดเลือด ภาควิชาศัลยศาสตร์
กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
กฎหมายทางการแพทย์ End-of-life Care
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ E-learning
หุ่นจำลองเพื่อการสอนญาติ / ผู้ดูแล on tracheostomy
เรื่อง หน้าที่ของลูกจ้างตามกฎหมาย ความปลอดภัยสารเคมี
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
หลักสำคัญในการล้างมือ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
II – 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานพ่นเคมี
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ตัวอย่างแผนผังสถานที่ผลิตยาแผนโบราณ
Tuberculosis วัณโรค.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
ข้อพึงปฏิบัติเพื่อ ป้องกันตนเอง จากไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 กิน ร้ อ น ช้อน กลา ง ล้าง มื อ.
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
โรคอุจจาระร่วง.
หม้อสุกี้ไฟฟ้า.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
การตรวจชีพจรและวัดความดันโลหิต
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
พิธีเปิดโครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพการป้องกันและ ควบคุมวัณโรค จังหวัด ร้อยเอ็ด ปี 2552 วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน 2551 ณ เรือนจำจังหวัดร้อยเอ็ด.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
อุปกรณ์และขั้นตอนการทำขนมจีนสมุนไพร
การเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาล
Nipah virus.
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
S terilization P itfalls สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
การล้างมือ (hand washing)
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

VRE ในโรงพยาบาลศิริราช ภาควิชาศัลยศาสตร์ เริ่ม 17 พฤษภาคม 2556

จำนวนผู้ป่วยที่มี VRE 25 มีนาคม – 22 ตุลาคม 2556 ศัลยศาสตร์ จำนวนผู้ป่วยที่มี VRE 25 มีนาคม – 22 ตุลาคม 2556 (N=36 , Passive = 8 (Van B = 5, A=3 ) Active = 28 (Van B = 23 , A=5 ) อำพร มานิตย์ สายันต์ ธนา ทิม เคว้ง Universal Contact Precaution เฉลิม ศิริพร+A ประจวบ สมชาย สง่า ยุทธพล เอื้อน ศุภชัย สมศรี จำเนียร เกิด ณัฐพงศ์ นิรันดร์ หมุน สาคร ตุลาคม

มาตรการในภาควิชาศัลยศาสตร์   ถุงมือ Hand hygiene เสื้อคลุม แยกอุปกรณ์-ของใช้ คลุมผ้าในการเคลื่อนย้าย อาหารกล่อง น้ำดื่ม ทำความสะอาด 2% CHG Bath VRE Screening CP ICU* + ±** ±*** สุ่ม 2 สัปดาห์ครั้ง Universal สามัญ Preemptive precaution *สยามินทร์, สลาด-สำอางค์, ตั้งตรงจิตร? ** เชื้อดื้อยาเกือบทุกขนาน *** central line insertion or planning CP Violation: แพทย์: Immediate feedback report (ชื่อ/ภาควิชา) ± CCTV พยาบาล: เพื่อนเตือนเพื่อน (กัลยาณมิตร) IC: Monitoring hand hygiene + CP compliance

มาตรการในภาควิชาศัลยศาสตร์ การทำ Preemptive precaution 1. เริ่มทำในผู้ป่วยที่มีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1.1 ผู้ป่วยที่รับย้ายจาก ICU 1.2 ผู้ป่วยที่มี ET tube หรือ มีเครื่องช่วยหายใจ หรือ หลังถอดเครื่องช่วยหายใจไม่เกิน 7 วัน 1.3 ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มเกิด Neutropenia หรือมี absolute neutrophil count <1000 cell/mm3 1.4 ผู้ป่วยที่มี แผลหรือโพรงแผลขนาดใหญ่ที่มี discharge หรือผู้ป่วยที่สิ่งคัดหลั่งมาก หรือ ถ่ายเหลวมากกว่า 3 ครั้งต่อวัน (ยกเว้น sterile bowel) 1.5 ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้ออื่นๆ ตามดุลยพินิจของแพทย์ เช่น ผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ เป็นต้น 2. ยกเลิกการทำเมื่อผู้ป่วยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 2.1 ผู้ป่วย terminal illness หรือ palliative care 2.2 ผู้ป่วยถอดเครื่องช่วยหายใจนานกว่า 7 วัน และมีแนวโน้มว่าจะไม่ได้รับการใส่อีกภายใน 2 สัปดาห์2.3 ผู้ป่วยที่มี absolute neutrophil count >1000 cell/mm3 2.4 ผู้ป่วยหมดภาวะแผลหรือโพรงขนาดใหญ่ที่มีdischarge หรือผู้ป่วยที่ไม่พบภาวะถ่ายเหลวแล้ว

มาตรการในภาควิชา กิจกรรมของแพทย์ Hand hygine ถุงมือ เสื้อคลุม mask face shield Round โดยไม่สัมผัสผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม กิจกรรม หรือ หัตถการทั่วไป ที่เสื้อมีโอกาสสัมผัสสิ่งแวดล้อมน้อย หากกระทำด้วยความระมัดระวัง เช่น วัดไข้, วัด BP, เจาะเลือด, เจาะน้ำตาล, เจาะ blood gas, ทำแผลขนาดเล็ก, ฯลฯ การตรวจร่างกายผู้ป่วย หัตถการที่เสื้อมีโอกาสสัมผัสสิ่งแวดล้อมได้บ่อยๆ 1. หัตถการทั่วไป เช่น การดูดเสมหะ แบบ close system, การเจาะเลือดที่ยาก, ฯลฯ 2. หัตถการที่อาจมีการปนเปื้อน หรือ กระเด็น ของ droplet จากบุคลากรไปสู่ผู้ป่วย เช่น ทำแผลขนาดใหญ่, การวัด CVP แบบ open system, เจาะน้ำไขสันหลัง ฯลฯ 3. หัตถการที่อาจมีการปนเปื้อน หรือ กระเด็น ของเลือด น้ำเหลือง หรือ สารคัดหลั่ง จากผู้ป่วย เช่น ใส่ ET-tube, ดูดเสมหะ แบบ open system, เจาะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด, เจาะตับ   ย้อมเสมหะ

มาตรการในภาควิชา กิจกรรมของพยาบาล Hand hygine ถุงมือ เสื้อคลุม mask face shield Round โดยไม่สัมผัสผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม กิจกรรม หรือ หัตถการทั่วไป ที่เสื้อมีโอกาสสัมผัสสิ่งแวดล้อมน้อย หากกระทำด้วยความระมัดระวัง เช่นป้อนข้าว, ให้อาหารทางสายยาง, แจกยา, ฉีดยา, วัดไข้, วัด BP, ตวงปัสสาวะ, ทำแผลขนาดเล็ก, ทำแผล tracheostomy, แทงเส้น, เจาะเลือด, ถอด tube ล้าง, ตวงน้ำ, ล้างกะละมังเช็ดตัว, ช่วยทำหัตถการ, เจาะน้ำตาล, ฯลฯ กิจกรรม หรือ หัตถการที่เสื้อมีโอกาสสัมผัสสิ่งแวดล้อมได้บ่อยๆ 1. หัตถการทั่วไป เช่น การเจาะเลือดที่ยาก, bed bath, พลิกตะแคงตัว, เปลี่ยนแพมเพิส, การดูดเสมหะ แบบ close system, ฯลฯ 2. หัตถการที่อาจมีการปนเปื้อน หรือ กระเด็น ของ droplet จากบุคลากรไปสู่ผู้ป่วย เช่น ทำแผลขนาดใหญ่, ฯลฯ 3. หัตถการที่อาจมีการปนเปื้อน หรือ กระเด็น ของเลือด น้ำเหลือง หรือ สารคัดหลั่ง จากผู้ป่วย เช่น การดูดเสมหะ แบบ open system, ฯลฯ   การทำแผล central line ที่ไม่ซับซ้อน