VRE ในโรงพยาบาลศิริราช ภาควิชาศัลยศาสตร์ เริ่ม 17 พฤษภาคม 2556
จำนวนผู้ป่วยที่มี VRE 25 มีนาคม – 22 ตุลาคม 2556 ศัลยศาสตร์ จำนวนผู้ป่วยที่มี VRE 25 มีนาคม – 22 ตุลาคม 2556 (N=36 , Passive = 8 (Van B = 5, A=3 ) Active = 28 (Van B = 23 , A=5 ) อำพร มานิตย์ สายันต์ ธนา ทิม เคว้ง Universal Contact Precaution เฉลิม ศิริพร+A ประจวบ สมชาย สง่า ยุทธพล เอื้อน ศุภชัย สมศรี จำเนียร เกิด ณัฐพงศ์ นิรันดร์ หมุน สาคร ตุลาคม
มาตรการในภาควิชาศัลยศาสตร์ ถุงมือ Hand hygiene เสื้อคลุม แยกอุปกรณ์-ของใช้ คลุมผ้าในการเคลื่อนย้าย อาหารกล่อง น้ำดื่ม ทำความสะอาด 2% CHG Bath VRE Screening CP ICU* + ±** ±*** สุ่ม 2 สัปดาห์ครั้ง Universal สามัญ Preemptive precaution *สยามินทร์, สลาด-สำอางค์, ตั้งตรงจิตร? ** เชื้อดื้อยาเกือบทุกขนาน *** central line insertion or planning CP Violation: แพทย์: Immediate feedback report (ชื่อ/ภาควิชา) ± CCTV พยาบาล: เพื่อนเตือนเพื่อน (กัลยาณมิตร) IC: Monitoring hand hygiene + CP compliance
มาตรการในภาควิชาศัลยศาสตร์ การทำ Preemptive precaution 1. เริ่มทำในผู้ป่วยที่มีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1.1 ผู้ป่วยที่รับย้ายจาก ICU 1.2 ผู้ป่วยที่มี ET tube หรือ มีเครื่องช่วยหายใจ หรือ หลังถอดเครื่องช่วยหายใจไม่เกิน 7 วัน 1.3 ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มเกิด Neutropenia หรือมี absolute neutrophil count <1000 cell/mm3 1.4 ผู้ป่วยที่มี แผลหรือโพรงแผลขนาดใหญ่ที่มี discharge หรือผู้ป่วยที่สิ่งคัดหลั่งมาก หรือ ถ่ายเหลวมากกว่า 3 ครั้งต่อวัน (ยกเว้น sterile bowel) 1.5 ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้ออื่นๆ ตามดุลยพินิจของแพทย์ เช่น ผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ เป็นต้น 2. ยกเลิกการทำเมื่อผู้ป่วยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 2.1 ผู้ป่วย terminal illness หรือ palliative care 2.2 ผู้ป่วยถอดเครื่องช่วยหายใจนานกว่า 7 วัน และมีแนวโน้มว่าจะไม่ได้รับการใส่อีกภายใน 2 สัปดาห์2.3 ผู้ป่วยที่มี absolute neutrophil count >1000 cell/mm3 2.4 ผู้ป่วยหมดภาวะแผลหรือโพรงขนาดใหญ่ที่มีdischarge หรือผู้ป่วยที่ไม่พบภาวะถ่ายเหลวแล้ว
มาตรการในภาควิชา กิจกรรมของแพทย์ Hand hygine ถุงมือ เสื้อคลุม mask face shield Round โดยไม่สัมผัสผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม กิจกรรม หรือ หัตถการทั่วไป ที่เสื้อมีโอกาสสัมผัสสิ่งแวดล้อมน้อย หากกระทำด้วยความระมัดระวัง เช่น วัดไข้, วัด BP, เจาะเลือด, เจาะน้ำตาล, เจาะ blood gas, ทำแผลขนาดเล็ก, ฯลฯ การตรวจร่างกายผู้ป่วย หัตถการที่เสื้อมีโอกาสสัมผัสสิ่งแวดล้อมได้บ่อยๆ 1. หัตถการทั่วไป เช่น การดูดเสมหะ แบบ close system, การเจาะเลือดที่ยาก, ฯลฯ 2. หัตถการที่อาจมีการปนเปื้อน หรือ กระเด็น ของ droplet จากบุคลากรไปสู่ผู้ป่วย เช่น ทำแผลขนาดใหญ่, การวัด CVP แบบ open system, เจาะน้ำไขสันหลัง ฯลฯ 3. หัตถการที่อาจมีการปนเปื้อน หรือ กระเด็น ของเลือด น้ำเหลือง หรือ สารคัดหลั่ง จากผู้ป่วย เช่น ใส่ ET-tube, ดูดเสมหะ แบบ open system, เจาะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด, เจาะตับ ย้อมเสมหะ
มาตรการในภาควิชา กิจกรรมของพยาบาล Hand hygine ถุงมือ เสื้อคลุม mask face shield Round โดยไม่สัมผัสผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม กิจกรรม หรือ หัตถการทั่วไป ที่เสื้อมีโอกาสสัมผัสสิ่งแวดล้อมน้อย หากกระทำด้วยความระมัดระวัง เช่นป้อนข้าว, ให้อาหารทางสายยาง, แจกยา, ฉีดยา, วัดไข้, วัด BP, ตวงปัสสาวะ, ทำแผลขนาดเล็ก, ทำแผล tracheostomy, แทงเส้น, เจาะเลือด, ถอด tube ล้าง, ตวงน้ำ, ล้างกะละมังเช็ดตัว, ช่วยทำหัตถการ, เจาะน้ำตาล, ฯลฯ กิจกรรม หรือ หัตถการที่เสื้อมีโอกาสสัมผัสสิ่งแวดล้อมได้บ่อยๆ 1. หัตถการทั่วไป เช่น การเจาะเลือดที่ยาก, bed bath, พลิกตะแคงตัว, เปลี่ยนแพมเพิส, การดูดเสมหะ แบบ close system, ฯลฯ 2. หัตถการที่อาจมีการปนเปื้อน หรือ กระเด็น ของ droplet จากบุคลากรไปสู่ผู้ป่วย เช่น ทำแผลขนาดใหญ่, ฯลฯ 3. หัตถการที่อาจมีการปนเปื้อน หรือ กระเด็น ของเลือด น้ำเหลือง หรือ สารคัดหลั่ง จากผู้ป่วย เช่น การดูดเสมหะ แบบ open system, ฯลฯ การทำแผล central line ที่ไม่ซับซ้อน