Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
Tomato Yellow Leaf Curl Begomovirus จัดทำโดย 1
RICE RAGGED STUNT VIRUS (โรคจู๋ของข้าว)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
หลักสำคัญในการล้างมือ
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ใบ Leaf or Leaves.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
จัดทำโดย cucumber mosaic virus นายธนภัค แสงมณี รหัส
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
โครงงานต่อยอดเทคโนโลยีที่สืบค้นจากเอกสารสิทธิบัตรระดับนานาชาติ
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
โรงเรียนวัดคุ้งยาง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัยเขต 2
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วย.
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย น.ส.จิตทยา ธรรมโชโต 4440027 น.ส.จุฑารัตน์ เนื่องผาสุข 4440034 น.ส.จุติกานต์ วรปัทมศรี 4440035 น.ส.ชนิดา แสนโคตร 4440044 น.ส. มณทิชา นาวงษ์ 4440137 น.ส.รัชนี นิลละออ 4440153 น.ส.สุวิมล วงศ์พลัง 4440211 น.ส.อุทัยวรรณ เอี่ยวเล็ก 4440231

Papaya ringspot potyvirus * ไวรัสชนิดนี้จัดอยู่ในสกุล Potyvirus และจัดอยู่ในวงศ์ Potyviridae * เป็นเชื้อสาเหตุของโรคใบด่างจุดวงแหวนของมะละกอ

ภาพถ่าย เชื้อ Papaya ringspot virus สาเหตุของโรคใบด่างจุดวงแหวนมะละกอ จากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

* รูปร่าง Flexuous rod และ Non enveloped * ขนาดของอนุภาค 800 x 12 nm คุณสมบัติของอนุภาค PRSV * รูปร่าง Flexuous rod และ Non enveloped * ขนาดของอนุภาค 800 x 12 nm * อนุภาคประกอบด้วย RNA ที่เป็นแบบ linear single stranded

อินเดีย ไต้หวัน และ ไทย พื้นที่การแพร่กระจายของเชื้อPRSV * พบในพื้นที่ปลูกมะละกอ ในประเทศสหรัฐอเมริกา อาฟริกาใต้ อินเดีย ไต้หวัน และ ไทย

ลักษณะการเข้าทำลาย เพลี้ยอ่อนจะดูดน้ำเลี้ยงจากต้นที่เป็นโรค เชื้อจะเข้าทำลายในทุกระยะของมะละกอ เพลี้ยอ่อนจะดูดน้ำเลี้ยงจากต้นที่เป็นโรค เชื้อจะติดไปกับปากแมลงแบบชั่วคราว ถ่ายเชื้อลงสู่ต้นที่ไม่เป็นโรค

ลักษณะอาการของโรคใบด่างจุดวงแหวนของมะละกอ ลักษณะแผลที่ก้านใบ เป็นจุดหรือทางยาวสี เขียวเข้มของก้านมะละกอที่เป็นโรค ลำต้นเป็นโรคจุดวงแหวนมีลาย ชุ่มน้ำ อาการจุดวงแหวน ด้านใต้ใบของมะละกอที่ เป็นโรคใบด่างวงแหวน

ลักษระอาการบนผลมะละกอ มีลายวงแหวนสีเขียวเข้มทั่วทั้งผล ถ้าเป็นรุนแรงแผลจะมีลักษณะคล้ายสะเก็ด ผลมะละกอสุกมีลักษณะแข็ง ความหวานลดลง

อาการลักษณะจุดวงแหวนบนผล มะละกอ เป็นลักษณะเฉพาะของโรคใบ ด่างวงแหวน บริเวณจุดวงแหวน เนื้อจะมีลักษณะเป็นไต แข็งและมีรสขม

การแพร่กระจายของโรค 1. โรคแพร่ระบาดได้ดีในสภาพที่แห้งและเย็น 2. การถ่ายทอดโรคนี้ใช้เวลาสั้นมากประมาณ 10-30 วินาที 3. โรคนี้สามารถแพร่ระบาดโดยมีเพลี้ยอ่อนหลายชนิด เป็นพาหะโดยเฉพาะเพลี้ยอ่อนฝ้ายเป็นพาหะสำคัญ

1. ทำลายต้นที่ติดเชื้อโรคนี้ ที่แสดงอาการอย่างแน่ชัด วิธีป้องกันและการกำจัด 1. ทำลายต้นที่ติดเชื้อโรคนี้ ที่แสดงอาการอย่างแน่ชัด 2. ปลูกมะละกอพันธุ์ที่ทนทานต่อโรคนี้ 3. บริเวณปลูกมะละกอควรกำจัดวัชพืชให้หมด 4. ปลูกพืชที่เป็นอาหารของเพลี้ยอ่อน 5. สร้างภูมิคุ้มกันโดยการปลูกเชื้อสายพันธุ์PRSV สาย พันธุ์อ่อนให้กับมะละกอ

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ เชื้อเข้าทำลายมะละกอ ทำให้ผลบิดเบี้ยวผิวของผลจะขรุขระ มีจุดเป็นวงแหวนทำให้เนื้อผิวบริเวณนั้นเป็นไตแข็ง มีรสขมและทำให้ผลผลิตลดลง

แหล่งค้นคว้า www.ncbi.nlm.nih.gov/ICTV www.apsnet.org www.doae.go.th