พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
Leaf Monocots Dicots.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
เอกสารเคมี Chemistry Literature
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
Physiology of Crop Production
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
Chemical Properties of Grain
Structural, Physical and Chemical properties of Grains
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
คำถามทบทวนวิชา
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) สวก.
ปัญหา ….. ผลผลิต / รายได้ต่ำเพราะใช้พื้นที่ ผลิตพืชไม่เหมาะสม พื้นที่มีกำไร (40%) พื้นที่เท่า ทุน (40%) พื้นที่กินทุน ( ที่ลุ่ม ) พื้นที่กินทุน ( ที่ดอน.
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
การเจริญเติบโตของพืช
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
1 โดย... นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ รองอธิบดีกรมการข้าว.
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ วัตถุประสงค์: 1.ให้นักศึกษาทราบถึงพื้นฐานทางพฤกษศาสตร์โดยเฉพาะการจำแนกพืชปลูก 2.ให้นักศึกษาทราบถึงการเจริญเติบโตและกายวิภาคของพืช 3.ให้นักศึกษาทราบถึงสรีรวิทยาพื้นฐานที่สำคัญต่อการสร้างและการใช้พลังงานของพืช 4. ให้นักศึกษาทราบถึงแนวทางการปรับปรุงพันธุ์และการอนุรักษ์พันธุ์พืช

หัวข้อคำบรรยาย พืชสำหรับการกสิกรรม 1. คำนำ 2. การจำแนกพืช 3.โครงสร้างและหน้าที่ของพืชปลูก 4. การเจริญเติบโตและกายวิภาคของพืช 5. สรีรวิทยาพื้นฐานที่สำคัญตจ่อการสร้างและการใช้พลังงานของพืช 6. การปรับปรุงพันธุ์และการอนุรักษ์พันธุ์

ศักยภาพในการผลิตพืช ความสามารถในการปรับตัวของพืช พืชปลูก สภาพแวดล้อม พันธุกรรม ความสมบูรณ์ของดิน สรีรวิทยาของพืช ความเหมาะสมของภูมิอากาศ การระบาดของโรคและแมลง การเขตกรรมและการจัดการที่ถูกวิธี

พื้นฐานทางพฤกษศาสตร์(botanical background) โครงสร้างของพืชปลูก การจำแนกพืช การจำแนกพืช(classification of plant) การจำแนกแบบพรรณาลักษณะของพืช การจำแนกทางพฤกษศาสตร์

การจำแนกแบบพรรณาลักษณะของพืช 1 จำแนกตามจำนวนปีของปีของชีพจักรพืช พืชอายุปีเดียว(annuals) พืชคาบปี(biennials) พืชอายุหลายปี (perennials) 3 จำแนกตามการผลัดใบ ไม้ผลัดใบ(decidous) ไม้ไม่ผลัดใบหรือเขียวตลอดปี(evergreen) 2 จำแนกตามโครงสร้างและทรงของลำต้น พืชลำต้นอ่อน (herbaceous) ไม้เถา (vines) ไม้พุ่ม (shrubs) ไม้ยืนต้น (trees) 4 จำแนกตามลักษณะการปรับตัวในสภาพภูมิอากาศต่างๆ พืชหรือไม้เมืองหนาว (tropical plants) พืชหรือไม้เมืองร้อน (tropical plants)หรือกึ่งร้อน

การจำแนกแบบพรรณา(ต่อ) 5 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับ ธัญพืช(cereal crops) จำพวกถั่วให้เมล็ด (grain legumes) พืชหัว (root crops) พืชน้ำมัน (oil crops) พืชเครื่องดื่ม(beverage crops) พืชเส้นใย (fiber crops) 6 จำแนกตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง พืชคลุมดิน (cover crops) พืชสำหรับเป็นปุ๋ยพืชสด(green manure crops) พืชปลูกเสริมสำรอง (catch crops) พืชที่ช่วยบำรุงรักษาพืชปลูกหลัก (nurse หรือ companion crops)

ตัวอย่างการจำแนกข้าวและถั่วเหลือง

Glycine max (L.) Merrill genus spiecies 1st 2nd author author ข้าว: ถั่วเหลือง: Glycine max (L.) Merrill genus spiecies 1st 2nd author author ข้าว: Oryza sativa L. Genus species author = Linaeus กาแฟพันธุ์อาราบิก้า: Coffea arabica L. var. Arabica genus species author botanical variety ยาสูบพันธุ์เวอร์จิเนีย: Nicotiana tabacum L. “Virginia Bright” genus species author agricultural variety or cultivar

งานวิจัยด้านการปรับปรุงพันธุ์พืช ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1. การรวบรวมและประเมินความแปรปรวนของสายพันธุ์ 2. การผสมพันธุ์เพื่อให้ได้พืชพันธุ์ใหม่ตามที่ต้องกการ 3. การคัดเลือกพันธุ์ 4. การขยายพันธุ์ 5. การอนุรักษ์พันธุ์พืช

CO2 + Light reaction basic to all photosynthesis B. Calvin cycle C. C4 Plants D. C.A.M. plants ภาพแสดงความเป็นไปของกระบวนการสังเคราะห์แสงและวิถีการเปลี่ยนรูปคาร์บอนไดออกไซด์ไปเป็นสารอินทรีย์ของพืช 3 กลุ่มคือ1. พืช C3 (Calvin cycleหรือ Reductive Pentose Phosphate Cycle)2.พืช C4 (C4-Dicarboxylic acid pathway)และพืชพวกแคม (CAM Plants - Crassulacean Acid Metabolism)

กายวิภาคเปรียบเทียบใบของพืช C3และพืช C4

ลำดับขั้นการจับคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4

การเจริญเติบโตและกายวิภาคของพืช 1. การเจริญในระยะเอ็มบริโอ 2. การงอกของเมล็ด 3. การเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ในพืช 4. การเติบโตของราก 5. การเติบโตของลำต้น 6. การเจริญเติบโตของใบ 7. สรีรวิทยาพื้นฐานที่สำคัญต่อการสร้างและการใช้พลังงานของพืช

สรีรวิทยาพื้นฐานของพืช 1. การสังเคราะห์แสง 2. การหายใจแสง 3. การคายน้ำ 4. การดูดน้ำและการลำเลียงน้ำ 5. การสร้างผลผลิตของพืช