เครื่องมือการจัดการความรู้ Knowledge Management Tools

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ประสบการณ์และวิธีการจัดการความรู้ ในงานบริการพยาบาล
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
การออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์
เปิดโลกนอกกะลา.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
Workshop การจัดการความรู้
The 5 most satisfied items
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
Communities of Practice (CoP)
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
Knowledge Management การจัดการความรู้สู่การพัฒนาการสอน
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการทำโครงงาน
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
เครื่องมือทางเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ประมวลภาพกิจกรรม โครงการ การจัดการความรู้กรม อนามัย ปี 2548 ประมวลภาพกิจกรรม โครงการ การจัดการความรู้กรม อนามัย ปี 2548.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  Knowledge Management Tools   วัตถุประสงค์ (เมื่อศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนแล้ว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องมือการจัดการความรู้ Knowledge Management Tools ผศ.ดร. วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Email : wwettayaprasit@yahoo.com

บันไดสี่ขั้นสู่การเรียนรู้ (Learning) เลียนแบบ พัฒนาต่อยอด 4 เลียนรู้ รับมา ทำเลียนแบบ 3 รับรู้ แต่อาจไม่ได้นำไปใช้ 2 ไม่รู้ ไม่รู้ ไม่ชี้ vs. ไม่รู้ แล้วชี้ 1

เครื่องมือของการจัดการความรู้ ชุมชนแนวปฏิบัติ (Communities of Practice – CoP) ฐานความรู้ความสำเร็จ (Best Practices Databases) ฐานความรู้บทเรียน (Lessons Learned Databases) แหล่งผู้รู้ในองค์กร (Center of Excellence – CoE)

เครื่องมือของการจัดการความรู้ (ต่อ) การเล่าเรื่อง (Story Telling) ทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Action Reviews – AAR) การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Monitoring Programs) การเสวนา (Dialogue) เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) ฟอรัม ถาม-ตอบ (Forum)

เครื่องมือจัดการความรู้ (Knowledge Management Tools) จากหนังสือ การจัดการความรู้ สู่การปัญญาปฏิบัติ โดย อ.บดินทร์ วิจารณ์ Mapping โดย ภก.ประชาสรรณ์ แสนภักดี Download ได้จาก www.prachasan.com

(Community of Practice : CoP) ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP)

ชุมชนนักปฏิบัติ CoP ชุมชน ชุมชนแห่งการปฏิบัติ เปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา แนวปฏิบัติ Domain ชุมชน ชุมชนแห่งการปฏิบัติ เปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา

ชุมชนนักปฏิบัติ CoP เปนกลุมคนที่มารวมตัวกันอยางไมเปนทางการ มีวัตถุประสงคเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู สรางองคความรูใหมๆ มาจากคนที่อยูในกลุมงานเดียวกัน หรือมีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งรวมกัน มีความไววางใจและความเชื่อมั่นในการแลกเปลี่ยน ความรูระหวางกันและกัน เปนสิ่งที่สําคัญ 8

ชุมชนนักปฏิบัติ CoP มีความแตกตางจากการจัดตั้งทีมงาน เนื่องจากเปนการรวมกัน.......อยางสมัครใจ........ ควรมีการบันทึกสิ่งที่เรียนรูระหวางกัน ใหแรงจูงใจหรือรางวัล.... สําหรับสมาชิกที่ใหความรวมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อเปนตัวอยางแกคนอื่นๆตอไป ควรสงเสริมให CoP มีการเติบโตและขยายตัว 9

สร้างชุมชนนักปฏิบัติ Expert 5% Training Professional 40% Expert in Community of Practice 100%

CoP พัฒนาสู่ LO CoP1 Create Learn Share Use Capture CoP2 CoP3 CoP9

ระดับการเขารวมใน ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)

การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Mentoring System) เปนวิธีการถายทอดความรูแบบตัวตอตัว เปนวิธีการหนึ่งในการสอนงานและใหคําแนะนําอยางใกลชิด นอกจากจะใหคําปรึกษาในดานการงานแลว ยังเปนที่ปรึกษาในเวลามีปญหาหรือสับสน ที่สําคัญพี่เลี้ยงจะตองเปนตัวอยางที่ดีในเรื่องพฤติกรรม จริยธรรม และการทํางานใหสอดคลองกับความตองการขององคกร

การทบทวนหลังการปฎิบัติ (After Action Review - AAR) เปนกิจกรรมที่ใชทบทวนหรือประเมินผลของกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ในแตละครั้งวามีจุดดีจุดดอย รวมทั้งโอกาสและอุปสรรค อยางไรในการทํา CoP เพื่อเปนขอมูลในการปรับปรุงการทํา CoP ในครั้งตอไปใหดีขึ้น รวมทั้งเปนการเปดโอกาสใหสมาชิกในกลุมไดเสนอแนะขอคิดเห็นตางๆเพื่อการปรับปรุงการทํา CoP ใหสอดคลองกับเปาหมายของกลุมและเปาหมายของสมาชิก

คําถามในการทํา AAR 1. สิ่งที่บรรลุเปาหมายคืออะไร AAR (After Action Review) คําถามในการทํา AAR 1. สิ่งที่บรรลุเปาหมายคืออะไร 2. สิ่งที่เกินความคาดหวังคืออะไร 3. สิ่งที่ต่ำกว่าความคาดหวังคืออะไร 4. คิดจะกลับไปทําอะไรตอ

การเสวนา (Dialogue)

ฐานความรู (Knowledge Bases) ฐานความรู้บทเรียน (Lesson Learned) ฐานความรู (Knowledge Bases) เปนการเก็บขอมูลความรูตางๆ ที่องคกรมี ไวในระบบฐานขอมูล สามารถเขาถึงขอมูลไดตลอดเวลาผานระบบอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต หรือระบบอื่นๆ ไดอยางสะดวกรวดเร็วและถูกตอง ควรคํานึงถึงความพรอมของโครงสรางพื้นฐานเพื่อสนับสนุนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดวย

ฐานความรู้บทเรียน

วิธีปฎิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice - BP) BP การจัดเก็บความรูและวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศในรูปของเอกสาร เปนการจัดเก็บขอมูลขององคกรในรูปแบบงายๆ เพื่อความสะดวกในการคนหาและนําไปใช จัดทําฐานความรูของวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ อาจไดจากการทําการเทียบเคียง (Benchmarking)

การสกัดความรู้

resistible pest/disease การสกัดความรู้ Rice Varieties Types Harvest time (วัน) Yield (กก./ไร่) resistible pest/disease environment ปทุมธานี 1 ข้าวเจ้า 125 650-774 เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว โรคไหม้ โรคขอบใบแห้ง พื้นที่นาชลประทานภาคกลาง กข 10 ข้าวเหนียว 130 660 - ดอกพะยอม 145-150 250 โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบขีดสีน้ำตาล ปลูกเป็นพืชแซมในสวนยาง กระบวนการสกัดข้อมูล สารสนเทศอัตโนมัติ

(Center of Excellence - CoE) แหล่งผู้รู้ในองค์กร (Center of Excellence - CoE)

แนวปฏิบัติ :TKC กลุ่มโรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญ

แนวปฏิบัติ :TKC กลุ่มโรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญ

การเล่าเรื่อง (Story Telling) สรางความสมดุลระหวางความนาสนใจในการบรรยายเรื่องและเนื้อหาที่ตองการสื่อ

ลักษณะ ข้อควรคำนึง ข้อดี ผลที่ได้ ก่อให้เกิดความรื่นรมย์ เข้าใจง่าย เล่าจากมุมมองของคนสำคัญคนใดคนหนึ่ง มีการสอดแทรกแนวคิด เกิดขึ้นไม่นาน เป็นเรื่องจริง เล่าสั้นๆ หนึ่งเรื่องมีประเด็นเดียว จบลงด้วยความสุข เป็นตัวเชื่อมต่อความรู้ ความเข้าใจในผู้ฟังให้เกิดความคิดใหม่ๆ กระตุ้นให้ผู้ฟังนำบทเรียนไปใช้กับงานของตนเอง ไม่ทำให้เกิดช่องว่างของการรู้กับการปฏิบัติ เล่าเรื่องในประเด็นเดียวกันแต่สะท้อนความรู้/วิธีการคนละแบบ ลักษณะ ข้อดี STORY TELLING ผลที่ได้ ข้อควรคำนึง ก่อให้เกิดความรื่นรมย์ ถ่ายทอดข่าวสาร รักษาวัฒนธรรม สร้างพันธภาพ สร้างชุมชน เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์กร ให้ผู้ฟังตัดสินใจเอง เล่าเฉพาะเหตุการณ์และผลที่เกิดขึ้น วิเคราะห์คุณค่าของเรื่องที่จะเล่า ใช้ภาษาพูดง่ายๆ

เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist)

จัดการประชุมหรือกิจกรรมอยางเปนกิจลักษณะอยางสม่ำเสมอ เวทีถาม-ตอบ (Forum) จัดการประชุมหรือกิจกรรมอยางเปนกิจลักษณะอยางสม่ำเสมอ เชนการสัมนา และการประชุมทางวิชาการ

สมุดหนาเหลือง (Yellow Pages) อื่นๆ (Others) สมุดหนาเหลือง (Yellow Pages) จัดตั้งทีมขามสายงาน (Cross-Functional Team) การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) และการยืมตัวบุคลากรมาชวยงาน (Secondment)