เครื่องมือการจัดการความรู้ Knowledge Management Tools ผศ.ดร. วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Email : wwettayaprasit@yahoo.com
บันไดสี่ขั้นสู่การเรียนรู้ (Learning) เลียนแบบ พัฒนาต่อยอด 4 เลียนรู้ รับมา ทำเลียนแบบ 3 รับรู้ แต่อาจไม่ได้นำไปใช้ 2 ไม่รู้ ไม่รู้ ไม่ชี้ vs. ไม่รู้ แล้วชี้ 1
เครื่องมือของการจัดการความรู้ ชุมชนแนวปฏิบัติ (Communities of Practice – CoP) ฐานความรู้ความสำเร็จ (Best Practices Databases) ฐานความรู้บทเรียน (Lessons Learned Databases) แหล่งผู้รู้ในองค์กร (Center of Excellence – CoE)
เครื่องมือของการจัดการความรู้ (ต่อ) การเล่าเรื่อง (Story Telling) ทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Action Reviews – AAR) การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Monitoring Programs) การเสวนา (Dialogue) เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) ฟอรัม ถาม-ตอบ (Forum)
เครื่องมือจัดการความรู้ (Knowledge Management Tools) จากหนังสือ การจัดการความรู้ สู่การปัญญาปฏิบัติ โดย อ.บดินทร์ วิจารณ์ Mapping โดย ภก.ประชาสรรณ์ แสนภักดี Download ได้จาก www.prachasan.com
(Community of Practice : CoP) ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP)
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP ชุมชน ชุมชนแห่งการปฏิบัติ เปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา แนวปฏิบัติ Domain ชุมชน ชุมชนแห่งการปฏิบัติ เปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP เปนกลุมคนที่มารวมตัวกันอยางไมเปนทางการ มีวัตถุประสงคเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู สรางองคความรูใหมๆ มาจากคนที่อยูในกลุมงานเดียวกัน หรือมีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งรวมกัน มีความไววางใจและความเชื่อมั่นในการแลกเปลี่ยน ความรูระหวางกันและกัน เปนสิ่งที่สําคัญ 8
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP มีความแตกตางจากการจัดตั้งทีมงาน เนื่องจากเปนการรวมกัน.......อยางสมัครใจ........ ควรมีการบันทึกสิ่งที่เรียนรูระหวางกัน ใหแรงจูงใจหรือรางวัล.... สําหรับสมาชิกที่ใหความรวมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อเปนตัวอยางแกคนอื่นๆตอไป ควรสงเสริมให CoP มีการเติบโตและขยายตัว 9
สร้างชุมชนนักปฏิบัติ Expert 5% Training Professional 40% Expert in Community of Practice 100%
CoP พัฒนาสู่ LO CoP1 Create Learn Share Use Capture CoP2 CoP3 CoP9
ระดับการเขารวมใน ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)
การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Mentoring System) เปนวิธีการถายทอดความรูแบบตัวตอตัว เปนวิธีการหนึ่งในการสอนงานและใหคําแนะนําอยางใกลชิด นอกจากจะใหคําปรึกษาในดานการงานแลว ยังเปนที่ปรึกษาในเวลามีปญหาหรือสับสน ที่สําคัญพี่เลี้ยงจะตองเปนตัวอยางที่ดีในเรื่องพฤติกรรม จริยธรรม และการทํางานใหสอดคลองกับความตองการขององคกร
การทบทวนหลังการปฎิบัติ (After Action Review - AAR) เปนกิจกรรมที่ใชทบทวนหรือประเมินผลของกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ในแตละครั้งวามีจุดดีจุดดอย รวมทั้งโอกาสและอุปสรรค อยางไรในการทํา CoP เพื่อเปนขอมูลในการปรับปรุงการทํา CoP ในครั้งตอไปใหดีขึ้น รวมทั้งเปนการเปดโอกาสใหสมาชิกในกลุมไดเสนอแนะขอคิดเห็นตางๆเพื่อการปรับปรุงการทํา CoP ใหสอดคลองกับเปาหมายของกลุมและเปาหมายของสมาชิก
คําถามในการทํา AAR 1. สิ่งที่บรรลุเปาหมายคืออะไร AAR (After Action Review) คําถามในการทํา AAR 1. สิ่งที่บรรลุเปาหมายคืออะไร 2. สิ่งที่เกินความคาดหวังคืออะไร 3. สิ่งที่ต่ำกว่าความคาดหวังคืออะไร 4. คิดจะกลับไปทําอะไรตอ
การเสวนา (Dialogue)
ฐานความรู (Knowledge Bases) ฐานความรู้บทเรียน (Lesson Learned) ฐานความรู (Knowledge Bases) เปนการเก็บขอมูลความรูตางๆ ที่องคกรมี ไวในระบบฐานขอมูล สามารถเขาถึงขอมูลไดตลอดเวลาผานระบบอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต หรือระบบอื่นๆ ไดอยางสะดวกรวดเร็วและถูกตอง ควรคํานึงถึงความพรอมของโครงสรางพื้นฐานเพื่อสนับสนุนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดวย
ฐานความรู้บทเรียน
วิธีปฎิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice - BP) BP การจัดเก็บความรูและวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศในรูปของเอกสาร เปนการจัดเก็บขอมูลขององคกรในรูปแบบงายๆ เพื่อความสะดวกในการคนหาและนําไปใช จัดทําฐานความรูของวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ อาจไดจากการทําการเทียบเคียง (Benchmarking)
การสกัดความรู้
resistible pest/disease การสกัดความรู้ Rice Varieties Types Harvest time (วัน) Yield (กก./ไร่) resistible pest/disease environment ปทุมธานี 1 ข้าวเจ้า 125 650-774 เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว โรคไหม้ โรคขอบใบแห้ง พื้นที่นาชลประทานภาคกลาง กข 10 ข้าวเหนียว 130 660 - ดอกพะยอม 145-150 250 โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบขีดสีน้ำตาล ปลูกเป็นพืชแซมในสวนยาง กระบวนการสกัดข้อมูล สารสนเทศอัตโนมัติ
(Center of Excellence - CoE) แหล่งผู้รู้ในองค์กร (Center of Excellence - CoE)
แนวปฏิบัติ :TKC กลุ่มโรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญ
แนวปฏิบัติ :TKC กลุ่มโรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญ
การเล่าเรื่อง (Story Telling) สรางความสมดุลระหวางความนาสนใจในการบรรยายเรื่องและเนื้อหาที่ตองการสื่อ
ลักษณะ ข้อควรคำนึง ข้อดี ผลที่ได้ ก่อให้เกิดความรื่นรมย์ เข้าใจง่าย เล่าจากมุมมองของคนสำคัญคนใดคนหนึ่ง มีการสอดแทรกแนวคิด เกิดขึ้นไม่นาน เป็นเรื่องจริง เล่าสั้นๆ หนึ่งเรื่องมีประเด็นเดียว จบลงด้วยความสุข เป็นตัวเชื่อมต่อความรู้ ความเข้าใจในผู้ฟังให้เกิดความคิดใหม่ๆ กระตุ้นให้ผู้ฟังนำบทเรียนไปใช้กับงานของตนเอง ไม่ทำให้เกิดช่องว่างของการรู้กับการปฏิบัติ เล่าเรื่องในประเด็นเดียวกันแต่สะท้อนความรู้/วิธีการคนละแบบ ลักษณะ ข้อดี STORY TELLING ผลที่ได้ ข้อควรคำนึง ก่อให้เกิดความรื่นรมย์ ถ่ายทอดข่าวสาร รักษาวัฒนธรรม สร้างพันธภาพ สร้างชุมชน เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์กร ให้ผู้ฟังตัดสินใจเอง เล่าเฉพาะเหตุการณ์และผลที่เกิดขึ้น วิเคราะห์คุณค่าของเรื่องที่จะเล่า ใช้ภาษาพูดง่ายๆ
เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist)
จัดการประชุมหรือกิจกรรมอยางเปนกิจลักษณะอยางสม่ำเสมอ เวทีถาม-ตอบ (Forum) จัดการประชุมหรือกิจกรรมอยางเปนกิจลักษณะอยางสม่ำเสมอ เชนการสัมนา และการประชุมทางวิชาการ
สมุดหนาเหลือง (Yellow Pages) อื่นๆ (Others) สมุดหนาเหลือง (Yellow Pages) จัดตั้งทีมขามสายงาน (Cross-Functional Team) การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) และการยืมตัวบุคลากรมาชวยงาน (Secondment)