การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความน่าจะเป็น Probability.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
Assignment กำหนดส่ง ศุกร์ 12 ก.พ. 2553
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การสุ่มตัวอย่างและเครื่องมือวิจัย
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การประมาณค่าทางสถิติ
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
การวิจัยและสถิติ ปราณี นิลกรณ์.
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (ทาโร ยามาเน่) n=N/1+N(e)2
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
เพื่อติดตามสถานการณ์และแนวโน้มของ
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
การจัดทำ Research Proposal
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
วิจัย (Research) คือ อะไร
Simulation and Modelling ผู้สอน : ผศ.ดร. เสมอแข สมหอม
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
การออกแบบการวิจัย.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
งานวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design) บทที่ 7 การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)

7.1 คำสำคัญ ประชากร (Population) สมาชิกทุกหน่วยของสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการ ศึกษา ค่าที่ได้จากกลุ่มประชากร เรียกว่า ค่าพารามิเตอร์ (parameter) เช่น µ, , 

กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ส่วนย่อยของประชากรที่ถูกเลือกมาให้เป็น ตัวแทนของประชากร ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจะมีขนาดจำกัด ค่าที่รวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่าง เรียกว่า ค่าสถิติ (statistic) เช่น x, S.D., r

การสุ่มตัวอย่าง (Sampling) การกำหนดวิธีการสุ่ม (sampling method) การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (sample size)

7.2 ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง 7.2 ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น (probability sampling) การสุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น (non- probability sampling)

7.2.1 การสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น สุ่มแบบง่าย (simple random sampling) สุ่มแบบแบ่งชั้น (stratified sampling) สุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (cluster / area sampling) สุ่มแบบมีระบบ (systematic random sampling)

7.2.2 การสุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น เลือกแบบมีระบบ (systematic sampling) เลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) เลือกแบบโควตา (quota sampling) เลือกโดยบังเอิญ (accidental sampling) เลือกแบบอาสาสมัคร (voluntary sampling) เลือกแบบลูกโซ่ (chain / snowball sampling)

7.2.3 ประโยชน์ของการใช้กลุ่มตัวอย่าง ประหยัดค่าใช้จ่าย ประหยัดเวลา สะดวกในการปฏิบัติ ถูกต้อง แม่นยำ

7.2.4 ขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง กำหนดขอบเขตประชากร แจงลักษณะสำคัญของประชากร (ตัวแปรที่ ต้องการศึกษา) พิจารณาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ให้มากพอ ที่จะเป็นตัวแทนที่ดีของประชากรได้ สุ่มตัวอย่าง

บรรยายลักษณะกลุ่มตัวอย่าง ประชากร เลือกตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง บรรยายลักษณะกลุ่มตัวอย่าง บรรยายลักษณะประชากร สถิติอ้างอิง - การประมาณค่า - การทดสอบสมมติฐาน ค่าสถิติ ค่าพารามิเตอร์