อย่างปลอดภัยตามหลัก Biosafety และ Biosecurity

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ว่าด้วยการปิด และขีดฆ่าแสตมป์สุราต่างประเทศ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease)
หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย1
หลักสำคัญในการล้างมือ
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
การขนส่งผักและผลไม้.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โครงการจัดทำนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การตรวจวินิจฉัยโรคไข้ชิคุนกุนยา ทางห้องปฏิบัติการ
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
โรคอุจจาระร่วง.
การบริหารยาทางฝอยละออง
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
 จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
วิชา งานสีรถยนต์.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
S terilization P itfalls สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
การปรับปรุงกระบวนการ จัดเตรียมตัวอย่างตรวจทาง serology ปี 2 หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยา.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ห้องปราศจากเชื้อ ( Protective Environment )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อย่างปลอดภัยตามหลัก Biosafety และ Biosecurity วิธีเก็บตัวอย่าง การบรรจุตัวอย่างและการจัดส่งตัวอย่างไปยังห้องปฏิบัติการ อย่างปลอดภัยตามหลัก Biosafety และ Biosecurity วิไล ลินจงสุบงกช ศูนย์อ้างอิงโรคปากและเท้าเปื่อย ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ กรมปศุสัตว์ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 1. หลักการและเหตุผล โรคปากและเท้าเปื่อย เป็นโรคระบาดที่รุนแรง ติดต่อง่ายและระบาดรวดเร็วในสัตว์กีบคู่ ได้แก่ โค กระบือ แพะ แกะ สุกร ช้าง อูฐ กวาง เป็นต้น และทำให้เกิด ความสูญเสียทางเศรษฐกิจในด้านอุตสาหกรรมปศุสัตว์ สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสแอฟโทไวรัส (Aphthovirus) มีทั้งหมด 7 ชนิด ได้แก่ โอ (O), เอ (A) , ซี (C), เอเซียวัน (Asia1), แซทวัน (SAT1) , แซททู (SAT2) และแซททรี (SAT3) ในประเทศไทยพบมีระบาดอยู่ 3 ชนิด คือ โอ เอ และเอเซียวัน ไวรัสแต่ละชนิดไม่ทำให้ เกิดความคุ้มโรคข้ามซึ่งกันและกัน (cross immunity) การตรวจวินิจฉัยโรคปากและเท้าเปื่อย โดยสังเกตจากอาการนั้นไม่เพียงพอ เพราะไม่สามารถบ่งบอกหรือ แยกชนิดไวรัสได้ จำเป็นต้องตรวจทางห้องปฏิบัติการ ซึ่งเป็นวิธีเดียวที่สามารถจำแนกชนิดของไวรัสได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ ปัจจุบันการตรวจหาไวรัสและจำแนก ชนิดด้วยวิธี ELISA Typing และการตรวจหาแอนติบอดีต่อไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อย ด้วยวิธี LP ELISA และ non structure protein (NSP) ซึ่งเป็นวิธีทดสอบ ที่ให้ผลถูกต้อง รวดเร็ว มีความจำเพาะและความไวสูง ดังนั้นการเก็บตัวอย่างที่ดีและมีคุณภาพรวมถึงขั้นตอนการจัดส่งตัวอย่างไปยังห้องปฏิบัติการอย่างถูกต้อง และปลอดภัยตามหลัก Biosafety และ Biosecurity จึงเป็นสิ่งสำคัญ และควรถือปฏิบัติ เนื่องจากมีผลโดยตรงต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในตรวจวินิจฉัยโรคทาง ห้องปฏิบัติการและการควบคุมและกำจัดโรคในพื้นที่ให้บรรลุผลสำเร็จ 2. วัตถุประสงค์ เพื่อรักษาคุณภาพตัวอย่างเชื้อ เนื้อเยื่อ ซีรัมและหีบห่อบรรจุตัวอย่างให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ขณะขนส่งตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทางได้อย่างปลอดภัยและถูกต้องตามหลักการของ biosafety และ biosecurity เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดโอกาสเสี่ยงต่อการรั่วไหลของเชื้อไปสู่บริเวณใกล้เคียงหรือสิ่งแวดล้อม 3. ขอบข่าย เป็นวิธีการจัดเตรียมตัวอย่างที่เป็นชนิด infectious substance และ non infectious substance ให้ถูกต้องตามหลักการของ biosafety และ biosecurity ทั้งนี้ครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บตัวอย่างในพื้นที่ การบรรจุหีบห่อหรือภาชนะที่ปลอดภัยและจนถึงขั้นตอนการขนส่งจากต้นทางถึงปลายทาง 4. วิธีและขั้นตอนการปฏิบัติงาน การเก็บตัวอย่างเพื่อทำการตรวจวินิจฉัยโรคปากและเท้าเปื่อยที่ให้ความจำเพาะ ความไวและความแม่นยำสูงที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ คือการเก็บตรวจตัวอย่างที่เก็บจากเนื้อเยื่อจากรอยโรค (lesion) และการเก็บตัวอย่างซีรัม จากสัตว์ป่วยหรือที่สงสัยว่าป่วย มีดังนี้ 4.1 วิธีเก็บตัวอย่างเนื้อเยื่อ หรือ vesicle 4.1.1 บริเวณที่สามารถเก็บเชื้อได้คือ ตุ่มหรือแผลที่ลิ้น แผลที่กีบไรกีบ ซอกกีบหรืออุ้งกีบ โดยทำความสะอาดบริเวณนั้นด้วยน้ำสะอาดก่อน 4.1.2. ขนาดของเนื้อเยื่อควรเก็บเชื้อไม่น้อยกว่า 1 กรัม ถ้าเห็นว่าเก็บเนื้อเยื่อจากสัตว์ตัวหนึ่งๆได้น้อย ก็ควรเก็บจากตัวอื่นเพิ่มด้วย และแยกขวดเป็นตัวๆไป 4 .1.3. เก็บเนื้อเยื่อบรรจุลงในขวดที่มีน้ำยา 50 % กลีเซอรีนบัพเฟอร์ ใส่ให้น้ำยาให้ท่วมเนื้อเยื่อ ปิดจุกให้แน่น ปิดทับด้วยเทปกันน้ำยาวไหล ทำเครื่อง หมายขวดให้ชัดเจน 4.1.4 เช็ดทำความสะอาดและฆ่าเชื้อไวรัสที่ปนเปื้อนมากับขวด ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพ เช่น 0.25%speedyne หรือ 0.5% glutaraldehyde 4.1.5 ขวดบรรจุเนื้อเยื่อให้ห่อทับด้วยกระดาษหลายๆชั้น บรรจุในขวดที่มีฝาเกลียวปิดสนิท เพื่อป้องกันการรั่วไหลหรือกันขวดแตก แล้วบรรจุกล่องหรือภาชนะที่ไม่แตกง่าย พร้อมกับบันทึกประวัติสัตว์ป่วย รีบนำส่งทันที หรือในกรณีจำเป็นต้องเก็บไว้ก่อนควรเก็บในตู้เย็น วิธีนำส่งที่ดีที่สุดคือนำส่งในสภาพแช่เย็น โดยมีปริมาณ ICE PACK เพียงพอจนกว่าจะถึงห้องปฏิบัติการ หรือจัดส่งทางไปษณีย์โดยใส่ขวดตัวอย่างซ้อนลงบนขวดโลหะ หรือขวดพลาสติกและห่อหุ้มด้วยกระดาษซับเพื่อกันการรั่วไหลและกันกระแทก บรรจุลงในกล่องโฟมหรือ กล่องพัสดุที่แข็งแรง เพื่อป้องกันกล่องเกิดชำรุดหรือเสียหายในขณะขนส่ง 4.1.6 ให้เช็ดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อบริเวณรอบนอกกล่องบรรจุ อีกครั้ง เพื่อป้องกันการปนเปื้อนเชื้อ และให้มั่นใจว่าการบรรจุตัวอย่างและขนส่งหีบห่อมีความปลอดภัยตามหลัก Biosafety และ Biosecurity 4.2 วิธีเก็บตัวอย่างซีรัม กรณีการเก็บตัวอย่างซีรัมหรือน้ำเหลือง ไม่สามารถใช้สำหรับตรวจวินิจฉัยโรคเพื่อจำแนกชนิดไวรัส (ELISA typing)ได้ จะใช้เพื่อจุดประสงค์สำหรับตรวจสอบระดับภูมิคุ้มกันและตรวจแยกระหว่างสัตว์ที่ได้รับการฉีดวัคซีนและสัตว์ที่ได้รับการติดเชื้อเท่านั้น วิธีปฏิบัติดังนี้ 4.2.1 ให้ใช้ ไซริ้ง และหลอดเก็บเลือดที่แห้งและสะอาดผ่านการฆ่าเชื้อ 4.2.2 เจาะเลือดเสร็จแล้วให้วางหลอดในแนวเอียง เพื่อให้การแยกซีรัมได้ดีขึ้น 4.2.3 ควรวางในอุณหภูมิห้องเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง เพื่อให้การแยกซีรัมจากเกล็ดเลือดได้มากขึ้น ไม่ควรนำหลอดเลือดที่เพิ่งเจาะมาใหม่เข้าตู้เย็นทันที เพราะทำให้ซีรัมไม่แยกชั้นหรือแยกได้น้อยมาก ห้ามปั่นหลอด เลือดที่ยังไม่ได้ทำการถ่ายซีรัมออก เพราะจะทำให้เม็ดเลือดแดงแตก เกิดhemolysis อาจส่งผลกระทบต่อการตรวจวินิจฉัยได้ 4.2.4 แยกซีรัมแล้ว ถ่ายใส่หลอดพลาสติกที่มีฝาเกลียว ปิดฝาให้สนิทกันการรั่วไหล กรณีไม่สามารถนำส่งห้องปฏิบัติการได้ทันที ให้เก็บในตู้แช่แข็ง -20 oC ทั้งนี้เป็นการเก็บรักษาคุณภาพซีรัมให้คงที่สม่ำเสมอและป้องการการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียในซีรัม หากมีการเก็บไว้นานเกิน 1 สัปดาห์ 4.2.5 ใส่หลอดซีรัมในถุงพลาสติก รัดปากถุงให้แนน่ กันการรั่วไหล บรรจุลงในกระป็องหรือภาชนะที่มีฝาปิด ปิดฝาให้สนิท 4.2.6 เช็ดทำความสะอาดและฆ่าเชื้อไวรัสที่ปนเปื้อนมากับหลอดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพ เช่น 0.25%speedyne หรือ 0.5% glutaraldehyde 4.2.7 นำภาชนะบรรจุตัวอย่างทั้งหมด ใส่ลงในกล่องโฟม์ที่แข็งแรงหรือ Standard container ที่มี ICE PACK เพียงพอเพื่อรักษาความเย็นได้ตลอดการขนส่ง ประวัติตัวอย่างและเอกสารที่เกี่ยวข้องพร้อมที่อยู่ผู้ส่ง ให้ใส่ลงข้างกล่องเพื่อความสะดวกในการตองผลกลับ 4.2.8 ให้เช็ดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อบริเวณรอบกล่องหรือภาชนะอีกครั้ง เพื่อป้องกันปนเปื้อนเชื้อขณะขนส่งและปลอดภัยตามหลัก biosecutrty