หนอนพยาธิ (Helminth)
Introduction to the worms หนอนพยาธิ (Helminth) Introduction to the worms หนอนพยาธิ (The helminthic parasites) - เป็นพวกที่มีหลายเซลล์ (Multicellular) - มีลักษณะเป็น Bilaterally symmetrical animal - มี 3 germ layers
มีความสำคัญทางการแพทย์ เนื่องจากก่อโรค ในคน แบ่งออกได้เป็น 3 พวก ใหญ่ๆ คือ 1. Phylum Nematoda (Round worms) 2. Phylum Platyhelminthes 2.1 Class Cestoidea (Tapeworms) 2.2 Class Trematoda (Flukes) 3. Phylum Acanthocephala
1. Phylum Nematoda (Round worms) - ลักษณะ กลม-ยาว - ไม่มีปล้อง - มีช่องว่างในลำตัว (Body cavity) - ระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ สามารถใช้ในการแยกชนิดได้ ( ลักษณะปาก Esophagus Anus ใช้ใน การดูลักษณะของพยาธิแต่ละชนิดได้ )
- แยกเพศ เป็นตัวผู้ ตัวเมีย - การสืบพันธุ์ มีทั้ง ออกไข่ และออกลูก เป็นตัว - การติดต่อ เกิดได้หลายวิธี คือ : กินไข่พยาธิ : พยาธิตัวอ่อนไชเข้าทางผิวหนัง : แมลงพาหะกัด : กิน cyst ที่มีตัวอ่อนอยู่ภายใน
2. Phylum Platyhelminthes - รูปร่างแบน แบบ Dorso-ventrally - ลำตัวมีทั้งที่แบ่งเป็นปล้อง และ ไม่เป็นปล้อง - ไม่มีช่องว่างภายในลำตัว - ระบบทางเดินอาหารอาจมีหรือไม่มี
- มีระบบขับถ่าย - ระบบสืบพันธุ์ มีอวัยวะทั้ง 2 เพศ อยู่ใน ตัวเดียวกัน ( ยกเว้น พยาธิใบไม้เลือด ที่มีเพศแยกกัน) - พวกที่มีความสำคัญทางการแพทย์ ได้แก่ 2.1 Class Cestoidea (Tapeworms) - ได้แก่ พยาธิตัวตืด 2.2 Class Trematoda (Flukes) - ได้แก่ พยาธิใบไม้
2.1 Class Cestoidea (Tapeworms) - พยาธิตัวตืด - ลักษณะลำตัว เป็นปล้องแบนต่อกันเป็นเส้น ประกอบด้วย ส่วนหัว เรียกว่า Scolex (เป็นอวัยวะที่ใช้เกาะติดในลำไส้) ส่วนคอ เรียกว่า Neck
ส่วนลำตัว เรียกว่า Proglottids แยกเป็น ปล้องอ่อน = Immature Segment ปล้องแก่ = Mature Segment ปล้องสุก = Gravid Segment - อวัยวะสืบพันธุ์ มี 2 เพศ อยู่ในตัวเดียวกัน
2.1 Class Trematoda (Flukes) - พยาธิใบไม้ - ลักษณะแบนคล้ายใบไม้ - ลำตัวไม่เป็นปล้อง - ลำไส้มีลักษณะเป็นรูปตัว Y หัวกลับ โดยที่ส่วนปลาย ( Posterior) ทั้ง 2 ข้าง จะตัน
- มี 2 เพศ ในตัวเดียวกัน (ยกเว้น พยาธิ ใบไม้เลือด) - ระบบสืบพันธุ์ มีทั้ง Asexual และ Sexual Repro. Asexual Reproduction เพิ่มจำนวนตัวอ่อน Sexual Reproduction เพิ่มจำนวนโดยการออกไข่ - ติดต่อโดย การกินตัวอ่อน หรือ ตัวอ่อนไชเข้าผิวหนัง - ต้องการหอย ( snail , slug ) เป็น Intermediate host
3. Phylum Acanthocephala - ลักษณะพิเศษ คือ ตัวจะประกอบด้วย Anterior proboscis มีปลอกหุ้ม และมีหนามและยืดหดได้ - มี 2 เพศ - ระยะตัวอ่อนฟักออกจากไข่ เมื่อแมลงที่ เป็นโฮสต์กินเข้าไป
ตารางเปรียบเทียบ Trematode , Cestode , Nematode
เอกสารอ้างอิง ประยงค์ ระดมยศ,อัญชลี ตั้งตรงจิตร,พลรัตน์ วิไลรัตน์,ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ และ แทน จงศุภชัยสิทธิ์ 2538 Atlas of Medical Parasitology with 456 colour illustrations 2nd edition กรุงเทพฯ หน้า 40 - 45 ปาราสิตวิทยา ตอนที่ 2 โพรโทซัว 2527 ภาควิชาชีววิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล 126 หน้า นิมิตร มรกต 2539 ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ โปรโตซัวและหนอนพยาธิ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หน้า 61 - 67 วิฑูรย์ ไวยนันท์ และพีรพรรณ ตันอารีย์ 2535 ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ หน้า 54 - 73
Beaver, P.C.; Jung, R.C. and Cupp, E.W. 1984. Clinical Parasitology. Lea & Febigger, Philadelphia. Berendt,A.R.; Turner, G.D.H. and Newbold, C.I. 1994. Cerebral malaria: the sequestration hypothesis. Parasitology Today 10: 421 - 414. Bruce-Chwatt,L.J. 1984.Terminology of relapsing malaria: enigma variation. Trans.T.R. Soc. Trop. Med. Hyg. 78: 844 - 845. Clyde, D.F. 1987. Recent trends in the epidemiology and control of malaria. Epidemiol. Rev.9: 219-243. Cox, F.E.G. 1982. Modern Parasitology. Blackwell Scientific Publications, Oxford London. 346 pages.