พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
Advertisements

เรื่องพระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างไร ให้พ้นภัย และไม่ผิด พรบ.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
การกำหนดนโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัยเพื่อให้สอดรับกับ พรบ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ไอซีทีปลอดภัย ใครๆ ก็กด.
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
การดูแลรักษาความปลอดภัย ของเครื่องคอมพิวเตอร์
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น. ๑๓. ๔๐ – ๑๖. ๐๐ น. ๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ รวบรวมโดย พล.ต.ต.เดชาวัต รามสมภพ รอง ผบช.ภ.3.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ รายชื่อสมาชิก นายธีรศาสตร์ ธาราไทย นางรวิชา ยืนยง
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ์
เล่มที่ 134 ตอนที่ 27 ก 18 มิถุนายน 2550
: information Security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ สำหรับ ผู้บริหาร พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน.
มิติทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
4/7/2017 9:01 AM การเตรียมความพร้อมในการปฎิบัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ อ.วีระชัย บุญปก : © 2005 Microsoft.
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
การเตรียมความพร้อมจากผลการบังคับใช้ (ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ
๑๑. คุณพิจิตราฤทธิ์ ประภา ๑๒. คุณพดาลิมปสายชล ๑๓. คุณศิริชัยพุทธศิริ ๑๔. คุณอัครวุฒิศุภ อักษร ๑๕. คุณจันทิราโกมล ๑๖. คุณพนารัตน์ตัณฑ์ ไพบูลย์ ๑๗. คุณสมพรน้อยฉ่ำ.
ความรับผิดของผู้ประกอบธุรกิจสื่อทางเพศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ธีรพล สยามพันธ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.พัทลุง เขต 1
ทะเบียนราษฎร.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สําหรับตน.
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550

การเปลี่ยนรูปแบบการกระทำความผิด ยุคเก่า ยุคปัจจุบัน

การกระทำความผิดตามมาตราต่างๆ aa การแอบเข้าถึง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๗ การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๘ แอบเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ & แอบรู้มาตรการป้องกันระบบคอมพิวเตอร์ (ขโมย password)มาตรา ๕ และ มาตรา ๖ การรบกวน/ แอบแก้ไขข้อมูล มาตรา ๙ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๐

ตัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรืออันตรายได้ Virus สร้างขึ้นเพื่อทำลายระบบและมักมีการแพร่กระจายตัวได้อย่าง รวดเร็ว Trojan Horse คือ โปรแกรมที่กำหนดให้ทำงานโดยแฝงอยู่กับ โปรแกรมทั่วไป เพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่ง เช่น การขโมย ข้อมูล เป็นต้น Bombs คือ โปรแกรมที่กำหนดให้ทำงานภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดขึ้น เช่น Logic Bomb เป็นโปรแกรมที่กำหนดเงื่อนไขให้ทำงานเมื่อมี เหตุการณ์หรือเงื่อนไขใดๆเกิดขึ้น Rabbit เป็นโปรแกรมที่กำหนดขึ้นเพื่อให้สร้างตัวมันเองซ้ำๆ เพื่อให้ ระบบไม่สามารถทำงานได้ เช่น พื้นที่หน่วยความจำเต็ม Sniffer เป็นโปรแกรมที่กำหนดขึ้นเพื่อลักลอบดักข้อมูลที่ส่งผ่าน ระบบเครือข่าย ทำให้ทราบรหัสผ่านของบุคคลหรือส่งโอนข้อมูลผ่าน ระบบเครือข่าย

พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ คำนิยาม ม.๓ หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ ระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการ ผู้ใช้บริการ พนักงานเจ้าหน้าที่ รัฐมนตรี กระทำต่อคอมพิวเตอร์ ใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด พนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการ อำนาจหน้าที่ (ม.๑๘) (๑) มีหนังสือ/เรียกเพื่อให้ถ้อยคำ/เอกสาร (๒) เรียกข้อมูลจราจร (๓) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลที่อยู่ในครอบครอง (๔) ทำสำเนาข้อมูล (๕) สั่งให้ส่งมอบข้อมูล/อุปกรณ์ (๖) ตรวจสอบ/เข้าถึง (๗) ถอดรหัสลับ (๘) ยึด/อายัดระบบ ม.๒๖ เก็บข้อมูลจราจร ๙๐ วันไม่เกิน ๑ ปี ม.๕ การเข้าถึงระบบคอมฯ ม.๖ การล่วงรู้มาตรการการป้องกันการเข้าถึง ม.๗ การเข้าถึงข้อมูลคอมฯ ม.๘ การดักรับข้อมูลคอมฯ ม.๙ การรบกวนข้อมูลคอมฯ ม.๑๐ การรบกวนระบบคอมฯ ม.๑๓ การจำหน่าย/ เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด ม.๑๑ Spam mail ม.๑๔ การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์/เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม ม.๑๕ ความรับผิดของผู้ให้บริการ ม.๑๖ การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ/ดัดแปลง ม.๒๗ ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่หรือคำสั่งศาล ระวางโทษปรับ การตรวจสอบการใช้อำนาจ (ม.๑๙) ยื่นคำร้องต่อศาลในการใช้อำนาจตามม.๑๘ (๔)-(๘),ส่งสำเนาบันทึกรายละเอียดให้แก่ศาลภายใน ๔๘ ชม., ยึด/อายัดห้ามเกิน ๓๐ วัน ขอขยายได้ ๖๐ วัน (ม.๑๘(๘)) ม.๑๒ บทหนัก การ block เว็บไซต์ โดยความเห็นชอบของรมว.ทก.ยื่นคำร้องต่อศาล, ห้ามจำหน่าย/เผยแพร่ malicious code (ม.๒๐-ม.๒๑) มีผลบังคับใช้ภายหลังประกาศใช้ ๓๐ วัน (ม.๒) ความรับผิดของพนักงานเจ้าหน้าที่: (ม.๒๒ ถึง มาตรา ๒๔) การกระทำผิดนอกราชอาณาจักร รับโทษในราชอาณาจักร (ม.๑๗) การรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ (ม. ๒๕) พยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ อ้างและรับฟังมิได้ (ม.๒๕) การแต่งตั้ง/กำหนดคุณสมบัติพนักงานเจ้าหน้าที่/การประสานงาน (ม.๒๘-๓๐)

บทกำหนดโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา ๕ เข้าถึงคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ไม่เกิน ๖ เดือน ไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๖ ล่วงรู้มาตรการป้องกัน ไม่เกิน ๑ ปี ไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๗ เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ไม่เกิน ๒ ปี ไม่เกิน ๔๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๘ การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน ๓ ปี ไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๙ การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน ๕ ปี ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๑๐ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๑ สแปมเมล์ ไม่มี มาตรา ๑๒ การกระทำต่อความมั่นคง (๑) ก่อความเสียหายแก่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ (๒) กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ/เศรษฐกิจ วรรคท้าย เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ชีวิต ไม่เกิน ๑๐ ปี ๓ ปี ถึง ๑๕ ปี ๑๐ ปี ถึง ๒๐ ปี + ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๖๐,๐๐๐-๓๐๐,๐๐๐ บาท มาตรา ๑๓ การจำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่ง มาตรา ๑๔ การเผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม มาตรา ๑๕ ความรับผิดของ ISP มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพผู้อื่น ถ้าสุจริต ไม่มีความผิด

รูปแบบการกระทำความผิด (๑) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย มาตรา ๕ เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๖ เปิดเผยมาตรการป้องกันระบบ มาตรา ๗ เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๘ ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ สปายแวร์ (Spyware) สนิฟเฟอร์ (Sniffer) - การสอดแนมข้อมูลส่วนตัว - การแอบดักฟัง packet มาตรา ๙ รบกวน/ทำลาย ข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๐ รบกวน/ทำลาย ระบบคอมพิวเตอร์ การใช้ชุดคำสั่งในทางมิชอบ (Malicious Code) เช่น Viruses, Worms, Trojan Horses - การตั้งเวลาให้โปรแกรมทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ - การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทำงาน (Denial of Service) มาตรา ๑๑ สแปมเมล์ การทำสแปม (Spamming) รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ตามปกติ อาจถึงขั้นทำให้เป็น Zombie มาตรา ๑๒ เหตุฉกรรจ์ อันเกิดจากการกระทำข้างต้น BOT หรือ BOTNET - ผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ หรือทางเศรษฐกิจ ความปลอดภัยสาธารณะ การบริการสาธารณะ อาจเกิดสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)

รูปแบบการกระทำความผิด (๒) ฐานความผิด ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย มาตรา ๑๓ การจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ Hacking Tools - การสอดแนมข้อมูลส่วนตัว - การแอบดักฟัง packet มาตรา ๑๔ การนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม, เท็จ หรือไม่เหมาะสม หรือการส่งต่อข้อมูล (forward) นั้น การใช้ชุดคำสั่งในทางมิชอบ (Malicious Code) เช่น Viruses, Worms, Trojan Horses, Phishing - การตั้งเวลาให้โปรแกรมทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ - การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทำงาน (Denial of Service) มาตรา ๑๕ ความรับผิดฐานสนับสนุนการกระทำความผิดของผู้ให้บริการ การโพสต์หรือนำเข้าข้อมูล คอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๔ ความเสียหายกับบุคคลอื่น มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพ เป็นเหตุให้ถูก ดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรืออับอาย การตัดต่อภาพ ผู้ถูกกระทำถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรืออับอาย

ตัวอย่างรูปแบบการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์

การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์+ มาตรา 5 + มาตรา 7 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์+ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ Spyware Sniffer กรณีไหนบ้างถือว่าเป็นการเข้าถึงคอมพิวเตอร์ครับ? เข้าถึงโดยมิชอบ (illegal Access) ระบบคอมพิวเตอร์/ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่มีมาตรการป้องกันโดยเฉพาะ - ตั้ง Password - ตรวจสอบลายนิ้วมือ HACK is A Crime

เปิดเผยมาตรการป้องกันระบบ มาตรา 6 เปิดเผยมาตรการป้องกันระบบ User name/ Password User name/ Password รู้มาตรการป้องกัน แล้วนำไปเปิดเผย หากรู้วิธีการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่นแล้วนำไปบอกคนอื่นจะผิดหรือไม่ ? รู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง ระบบคอมพิวเตอร์ นำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผย รู้ password เพื่อนโดยบังเอิญ แล้วเอาไปโพสต์ในเว็บ บอก รหัสผ่าน เข้าเล่นเกมส์ออนไลน์แก่ เพื่อน

ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ Spyware Sniffer Keylogger มาตรา 8 ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ อยากรู้ว่าคนอื่นส่งเมล์ หรือข้อมูล อะไรเลยดักเมล์ผู้อื่นในขณะที่กำลังส่งระหว่างกันผิดหรือไม่?

ข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ Viruses, Worms, Trojan Horses มาตรา 9+10 รบกวน/ทำลาย ข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ การเข้าไปลบหรือเขียนเพิ่มเติมข้อมูลคอมพิวเตอร์ของคนอื่นผิดหรือไม่ ? ทำให้เสียหาย /ทำลาย แก้ไข /เปลี่ยนแปลง ข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น อย่าลบหรือแก้ไขข้อมูลในคอมคนอื่นซี้ซั้ว ขอรับ Denial of service attack: DoS คือ การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานผิดปกติ ไปจากเดิม หรือหยุดทำงาน

มาตรา 11 ส่ง Spam mail ส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์/ e-Mail โดยปกปิด/ ปลอมแปลงแหล่งที่มา หรือผู้ส่ง ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นใช้งานไม่ได้ หรือใช้งานได้ช้า

ต่อระบบโครงสร้างพื้นฐาน มาตรา 12 การทำความผิด ต่อระบบโครงสร้างพื้นฐาน ทำความผิดตามมาตรา 9 และ 10 ทำความเสียหายต่อประชาชน ทำความเสียหายต่อ ระบบโครงสร้างพื้นฐานสำคัญ เช่น ไฟฟ้า, ประปา, Banks

จำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่ง ที่ใช้ในการกระทำความผิด มาตรา 13 จำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่ง ที่ใช้ในการกระทำความผิด ขาย CD สอนป้องกัน แฮคเกอร์ และ สอนเขียนโปรแกรม คนที่ขาย แจก หรือ เผยแพร่ Hardware หรือ Software ที่ใช้ในการกระทำความผิดได้ไหมครับ ? Virus ขาย แจก หรือ เผยแพร่ Hardware หรือ Software ที่ใช้ ในการกระทำความผิด ถือว่ามีส่วนช่วยให้คนอื่น ทำผิด ก็ไม่รอดหรอก จะบอกให้

การเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม มาตรา 14 การเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม สร้างข่าวลือทำให้ผู้อื่นเสียหาย กระทบต่อความมั่นคง กล่าวว่าร้ายสถาบันกษัตริย์ การเผยแพร่ความคิดการก่อการร้าย การก่อกบฏ Forward Mail รูปลามก คลิปฉาว อ๊ะอ๊ะ ดูได้ อ่านได้ เก็บได้ แต่อย่าเขียน โพสต์ หรือ ส่งต่อนะจะบอกให้

มาตรา 14 ว่าด้วยเรื่องไม่จริง เรื่องโป้ปดมดเท็จ เรื่องความมั่นคง และเรื่องลามก ภาพลามก ขี้จุ๊ เบบี้ ขี้จุ๊ ตาลาลา ขี้ฮก เบบี้ ขี้ฮก ตาลาลา เรื่องไม่จริง ฟ้าถล่มแล้วจ้า หนีเร็ว เรื่องโป้ปดมดเท็จ Terrorist National Security ความมั่นคงของประเทศ และก่อการร้าย

การป้องกันภัยสาธารณะ (2) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ หรือ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน การติดต่อสื่อสาร การทหาร การเมืองการปกครอง การป้องกันภัยสาธารณะ ความมั่นคง ของประเทศ การต่างประเทศ การเงิน การคมนาคม การสาธารณสุข การพลังงาน

ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน เกิดโรคระบาด อาหารจะขาดแคลน จะปลดคนงาน เกิดการปฏิวัติ เกิดภัยพิบัติ หุ้นจะตก

การเข้าถึงคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ เช่น การเจาะระบบทั้งแบบ hacking และ cracking การบุกรุกทางคอมพิวเตอร์ เพื่อทำลายระบบคอมพิวเตอร์ หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูล หรือเข้าถึงข้อมูลที่ได้มี การเก็บรักษาเป็นความลับ เช่น รหัสผ่าน (password) หรือความลับทางการค้าที่อาจะเป็นที่มาของการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อฉ้อโกงหรือปลอมแปลงเอกสารที่อาจ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเนื่องเป็นมูลค่ามหาศาลได้

ภาพลามกอนาจารคืออะไร ภาพนี้ลามกหรือไม่?

โชว์ภาพตัดต่อของคนอื่น มาตรา 16 โชว์ภาพตัดต่อของคนอื่น โชว์ภาพของผู้อื่นในคอมพิวเตอร์ เป็นภาพที่ทำเอง ตัดต่อ หรือ เพิ่มสัดส่วน ทำด้วยคอมพิวเตอร์/อิเล็กทรอนิกส์ ทำให้คนนั้นอับอาย/เสียชื่อเสียง ถูกเกลียดชัง

มาตรการที่พึงดำเนินการ มาตรการส่วนบุคคล มาตรการเชิงนโยบายระดับองค์กร ควรกำหนด Password ในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์โดยกำหนดอย่างน้อย 8 ตัว และเปลี่ยนเป็นระยะๆ ลง & Update โปรแกรม Anti-Virus ไม่โพสต์หรือส่งต่อ Contents ไม่เหมาะสม ไม่ตัดต่อภาพที่อาจเป็นเหตุให้ผู้อื่นอับอาย ควรตรวจสอบการบังคับใช้กฎหมายของพนักงานเจ้าหน้าที่/พนักงานสอบสวนว่า กำลังใช้อำนาจตามกฎหมายใด 1) กฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2) กฎหมายอาญา – บัตรอิเล็กทรอนิกส์ 3) กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา – ลิขสิทธิ์,เครื่องหมายการค้า การจัดทำนโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัย (ICT Security Policy) การจัดทำ Code of Conduct/Best Practices ควรมีการ Monitor และ Patch หรือ Harden ระบบ ควรมีการตั้งคณะทำงานกำกับหรือติดตามดูแลการปฏิบัติตามกฎหมาย, นโยบาย และ Code of Conduct/Best Practices

10 อย่าง....อย่าทำ ถ้าไม่มีหน้าที่หรือ 1. อย่า..เข้าระบบที่คนอื่นตั้ง password ไว้ 10 อย่าง....อย่าทำ ถ้าไม่มีหน้าที่หรือ ไม่ได้รับอนุญาต 2. อย่า..เอามาตรการป้องกันการแก้ไข password ที่คนอื่นตั้งไว้ไปเผยแพร่ 3. อย่า..เข้าไปดูหรือเข้าไปเอาข้อมูลของผู้อื่น ที่มีมาตรการรักษาความปลอดภัย 4. อย่า..ใช้ sniffer ดัก E-mail คนอื่น 5. อย่า..ลองวิชาด้วยการรบกวนระบบ คอมพิวเตอร์หรือข้อมูลผู้อื่น 6. อย่า..สร้างเมล์เท็จเพื่อให้ผู้อื่นแตกตื่นตกใจ 7. อย่า..ร้อนวิชาด้วยการรบกวนระบบ โครงสร้างสำคัญของประเทศ 8. อย่า..เผยแพร่เน็ตที่เป็นภาพลามกหรือ เป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ 9. อย่า..ตัดต่อภาพเพื่อให้ผู้อื่นอับอาย 10. อย่า..เผยแพร่โปรแกรมสำหรับใช้ กระทำความผิด

10 ข้อแนะนำ...ควรทำ 1. เปลี่ยน..password ทุกๆ 3 เดือน โปรแกรมทันที 4. ตั้ง..ระบบป้องกันการเจาะข้อมูล 5. เก็บรักษา..ข้อมูลของตนอย่างดีและต้องไม่ให้ข้อมูลส่วนตัวกับผู้อื่น 6. อ่าน..เงื่อนไขให้ละเอียดก่อน ดาวน์โหลดโปรแกรม 7. แจ้ง..พนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อพบเจอ การกระทำความผิด 8. บอกต่อ..คนใกล้ชิด เช่น เพื่อน คนในครอบครัว ให้ใช้อินเทอร์เน็ต อย่างระมัดระวัง 9. ไม่ใช้..โปรแกรมที่ผิดกฎหมาย 10.ไม่..หลงเชื่อโฆษณาหรือเนื้อหาในเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม จนอาจถูกหลอกได้ 10 ข้อแนะนำ...ควรทำ อย่าลืมบอกต่อนะครับ อย่าใจอ่อน (ง่าย) อย่าไว้ใจคนแปลกหน้า อย่าโลภ อย่าหมกมุ่น อย่ารั้น อย่าคิดว่าไม่มีใครรู้

แหล่งข้อมูลอ้างอิง หนังสือความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 โดยคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เอกสารประกอบการบรรยาย โดยฝ่ายศึกษาวิจัยประเด็นด้านจริยธรรม กฎหมาย และผลกระทบทางสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ELS) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ค้นรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://wiki.nectec.or.th/ http://www.nectec.or.th/ http://www.mict.go.th/ http://www.dsi.go.th/ http://www.royalthaipolice.go.th