ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
BC320 Introduction to Computer Programming
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
Introduction to Digital System
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อสมการ (Inequalities)
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
เศษส่วน.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ตัวดำเนินการในภาษาซี
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์ นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์ ครู ค.ศ. 2 โรงเรียนปทุมวิทยากร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 1

จำนวนเต็มประกอบไปด้วย   จำนวนเต็มบวก  ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, ...  จำนวนเต็มลบ    ได้แก่  -1, -2, -3, -4, -5, ...    ศูนย์    ได้แก่  0   

ในทางคณิตศาสตร์  ถือว่า  0  ไม่ใช่จำนวนนับ    จำนวนนับ  เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า จำนวนเต็มบวก ถัดจากศูนย์ ไปทางขวา  1  หน่วย  จะเป็น  1    ซึ่งเป็นจำนวนนับที่น้อยที่สุด จำนวนนับที่น้อยที่สุดคือ 1

เส้นจำนวน จำนวนเต็มลบ จำนวนเต็มบวก ศูนย์ -6     -5       -4      -3    -2      -1       0        1       2       3 4 5 6 จำนวนเต็มลบ จำนวนเต็มบวก ศูนย์

จำนวนเต็มลบ มีลักษณะดังนี้ จำนวนเต็มลบ   มีลักษณะดังนี้ 1. มีค่าน้อยกว่า 0       2. จำนวนแต่ละจำนวนต้องเขียนเครื่องหมายลบ ( - ) นำหน้าจำนวนเต็ม                    3. จำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากขึ้น  ถ้ามีเครื่องหมายลบ ( - )   นำหน้าจะกลับมีค่าน้อยลง             4. จำนวนเต็มลบเป็นจำนวนที่ตรงข้ามกับจำนวนเต็มศูนย์

สมบัติของศูนย์และ และหนึ่ง เมื่อ  a  แทนจำนวนใดๆ           a + 0   =   0  +  a    =  a                                             a × 0  =    0  ×  0   =  0                                           a × 1  =    1 ×  a    =   a เช่น            8  +  0   =  0  +  8  =  8            8  ×  0   =  0 ×   8   =   0            8  ×  1  =  1  ×  8   =   8

การลบจำนวนเต็ม จำนวนตรงข้าม ถ้า  a  เป็นจำนวนเต็มใดๆ  จำนวนตรงข้ามของ a  จะเขียนแทนด้วย -a   และ  a + (-a)  =  (-a) + a  =    0 ถ้า  a  เป็นจำนวนใดๆ  จำนวนตรงข้ามของ  -a คือ   a   ซึ่งเขียนแทนด้วย -(-a)  =  a การลบจำนวนเต็มมีหลักดังนี้       ตัวตั้ง  -  ตัวลบ  =  ตัวตั้ง +  จำนวนตรงข้ามของตัวลบ

     ตัวอย่าง 1.     (-10) - 12       =   (-10)  + (-12)                                                            =  -22                                             2.   20  - (-6)          =    20 + 6                                                             =    26                         3.   (-4) - (-16)     =   (-4) + 16                                                         =  12                  4.   (-8)  -  (-3)     =  (-8) +  3                                                         =  -5 ตัวตั้ง +  จำนวนตรงข้ามของตัวลบ

การคูณจำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวกคูณจำนวนเต็มลบได้คำตอบเป็นจำนวนเต็มลบค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของ   ค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น จำนวนเต็มลบคูณจำนวนเต็มบวกได้คำตอบเป็นจำนวนเต็มลบที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูของ ค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวน

2. จำนวนเต็มที่มีเครื่องหมายต่างกัน คูณกัน ผลลัพธ์ จะเป็นจำนวนเต็มลบ   สรุปหลักการคูณของจำนวนเต็มสองจำนวน         1.  จำนวนเต็มที่มีเครื่องหมายเหมือนกัน  คูณกัน  ผลลัพธ์  จะเป็นจำนวนเต็มบวก      2.  จำนวนเต็มที่มีเครื่องหมายต่างกัน คูณกัน   ผลลัพธ์  จะเป็นจำนวนเต็มลบ                         ตัวอย่าง   1.   (-9) x (-5)     =   45                                        2.   (-8) x 12       =   -96                                        3.   (-2)(-6)(-5)   =   - 60                                        4.  3 (-5y)           =   -15y            

หลักเกณฑ์การหารจำนวนเต็ม      นำค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งและค่าสัมบูรณ์ของตัวหาร  มาหารกัน  แล้วพิจารณาดังนี้      1.   ถ้าตัวตั้งและตัวหาร เป็นจำนวนเต็มบวกทั้งคู่  หรือจำนวนเต็มลบทั้งคู่   จะได้ตำตอบหรือผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มบวก      2. ถ้าตัวตั้งหรือตัวหาร ตัวใดตัวหนึ่งเป็นจำนวนเต็มลบ  โดยที่มีอีกตัวหนึ่ง เป็นจำนวนเต็มบวก  จะได้คำตอบหรือผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มลบ      

 ตัวอย่าง 1.   144  ÷ (-12)           =   -12  2.   (-250)  ÷  10         =    25 3.   (-321)  ÷  (-3)       =   107

ระบบจำนวนเต็ม ประโยคในทางคณิตศาสตร์มีอยู่ 2 ประเภท คือ ประโยคภาษา และ ประโยคสัญลักษณ์ แต่ถ้าเรามองในลักษณะของค่าความจริงของประโยค สรุปได้ว่า ประโยคแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประโยคที่เป็นจริง และ ประโยคที่เป็นเท็จ ดังพิจารณาตัวอย่างของประโยคจากตารางต่อไปนี้

ประโยคที่เป็นจริง ประโยคที่เป็นเท็จ 20 + 6 = 26 4x = 24 ถ้า x = 6 สระในภาษาอังกฤษมี 5 ตัว วัดพระธาตุดอยสุเทพเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเชียงใหม่ ประโยคที่เป็นเท็จ 1. 20 < 10 2. 4 + 15 = 21 3. ถ้า x = 9 แล้ว x + 2 = 8 4. เชียงใหม่เป็นเมืองหลวงของประเทศไทย

จากตารางเราจะสังเกตเห็นว่าเราจะพบประโยคที่มีทั้งค่าความจริงเป็นจริงและเป็นเท็จ แต่จะมีประโยคอีกลักษณะหนึ่งที่ไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ เช่น เขาเป็นนักเรียนที่เรียนเก่งมาก 4x + 2 = 6 2y - 4 = 6 จาก 3 ประโยคดังกล่าวข้างต้นเราไม่สามารถ บอกได้ว่าประโยคเป็นจริงหรือเป็นเท็จ โดยเราจะบอกได้ว่าจริงหรือเท็จ ก็ต่อเมื่อ เราทราบค่าของของตัวแปรในประโยค ซึ่งถ้าเราทราบค่าของตัวแปรก็สามารถบอกได้ว่าประโยคเป็นจริงหรือเป็นเท็จ เช่น จากประโยค 5x + 2 = 12 ถ้า x = 2 ประโยคนี้ก็จะเป็นจริง แต่ถ้า x มีค่าเป็นจำนวนอื่นที่ไม่ใช่ 2 ประโยคนี้ก็จะเป็นเท็จ ซึ่งเราจะสังเกตเห็นว่า ตัวที่เราไม่ทราบค่าในประโยค เราจะเรียกว่า ตัวแปร