ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการนำเสนออย่างไรให้จูงใจสถานประกอบการ
Advertisements

หน้าที่ของผู้บริหาร.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ผู้นำ การจูงใจ การจูงใจคืออะไร
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การสร้างแรงจูงใจในชีวิต ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
( Organization Behaviors )
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์ วิธีคิดแบบนักบริหาร ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การพัฒนากระบวนการคิด
( Organization Behaviors )
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
(Individual and Organizational)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
( Human Relationships )
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
เทคนิคการให้คำปรึกษา
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การพัฒนาตนเอง.
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory) ทฤษฎีทางอาชีพ ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค (Hoppock’s Composite Theory) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์ (Holland’s Theory of Vocational Choice) ทฤษฎีการเลือกอาชีพของโรว์ (Roe’s Theory) ทฤษฎีอาชีพของกินสเบอร์ก (Ginzberg and Associates’ Theory) ทฤษฎีพัฒนาการทางอาชีพของซูเปอร์ (Super’s Theory of Vocational Development) ทฤษฎีของไทด์แมน และ โอฮารา (Tiedman and O’Hara Theory of Career Development) 2

ทฤษฎีทางอาชีพ 1. กลุ่มที่มุ่งความต้องการทางจิตวิทยา Hoppock’s Composite Theory Holland’s Theory of Vocational Choice Roe’s Theory 2. กลุ่มที่มุ่งทางพัฒนาการของอัตตา Ginzberg and Associates’ Theory Super’s Theory of Vocational Development Tiedman and O’Hara Theory of Career Development

สรุปแนวคิดของทฤษฎีต่างๆ ทุกทฤษฎีเห็นร่วมกันว่า พัฒนาการทางอาชีพ เป็นกระบวนการที่เกิดต่อเนื่องกันไปตลอดชีวิตบุคคล

2. เมื่อพัฒนาการทางอาชีพเป็นกระบวนการที่เกิดต่อเนื่องไปตามช่วงอายุบุคคล จึงมักเป็นสิ่งที่พยากรณ์ได้และปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป ทำให้บุคคลย่อมต้องแสวงหาสิ่งที่จะนำความสุข

3. ความแตกต่างทางพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุให้บุคคลมีความต่างกัน ด้านความสามารถ ความสนใจ ทัศนคติ และบุคลิกภาพ ทำให้บุคคลมีความสามารถ และบุคลิกภาพที่ต่างกันในการเข้าสู่อาชีพ

ในแต่ละอาชีพมักมีความต้องการความรู้ความสามารถที่ต่างกัน รวมทั้งคุณลักษณะของบุคคลที่ประสบความสำเร็จในแต่ละอาชีพ ก็จะแตกต่างกัน ทำให้บุคคลต้องมีการปรับตัวเพื่อความสำเร็จในหน้าที่การงาน

ทัศนคติ แรงจูงใจ และค่านิยมของเขา 5. การที่บุคคลจะพัฒนาอาชีพได้แค่ไหน และสามารถประยุกต์ใช้บุคลิกภาพของเขาอย่างไรในงานอาชีพ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทาง ทัศนคติ แรงจูงใจ และค่านิยมของเขา ซึ่งจะกำหนดการรับรู้ และการตัดสินใจต่อสถานการณ์ของเขาในปัจจุบัน ความคาดหวังในอนาคตที่เขามองเห็นว่ามีอยู่ในปัจจุบัน

บุคคลเรียนรู้เกี่ยวกับงานและความสัมพันธ์ที่งานมีต่อชีวิตได้หลายวิธี เช่น จากครอบครัว กลุ่มเพื่อน สังคม ประสบการณ์ในชีวิต

7. ผลสัมฤทธิ์ทางการงานที่บุคคลแสวงหา ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบส่วนตัวของบุคคล (ความสามารถ ความสนใจ ทัศนคติ บุคลิกภาพ ค่านิยม ฯลฯ) และสภาพการณ์ที่เป็นจริงภายนอก (โอกาส สถานภาพทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม )

8. ความพึงพอใจในงานอาชีพ (ไม่ว่าจะเกิดจากการที่ความต้องการได้รับการตอบสนอง หรือ บุคลิกภาพมีโอกาสได้แสดงออกในงานอาชีพ) จะเกิดแก่บุคคลเมื่อศักยภาพที่จะประสบผลสำเร็จนั้น ปรากฏให้เห็นเด่นชัดและตนเองยอมรับ

ซักถาม-อภิปราย