กระบวนทัศน์ (Paradigm)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

PBL : Problem – based Learning
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
Research and Development (R&D)
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
ประเด็นทางจริยธรรมสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ (Ethical Issues in Quantitative Methodology in Social Research ) ธีรเดช ฉายอรุณ หลักสูตรประชากรศึกษา.
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ขอบเขตการศึกษาของญาณวิทยา (epistemology)
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
2. ทัศนะอันหลากหลายของความหมาย social Analysis and synthesis
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
งานวิเทศสัมพันธ์จัดโครงการแข่งขันพูด ภาษาอังกฤษต่อหน้าชุมชนระดับ มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 1 ประจำปี 2550 งานวิเทศสัมพันธ์ ร่วมมือกับ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
สุขภาพจิต และการปรับตัว
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ
Good Corporate Governance
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
รศ.ชัยยศ สันติวงษ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 17 มิถุนายน 2554
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
นิเทศศาสตร์กับการเมือง และข้อเสนอสำหรับการวิจัยทางนิเทศศาสตร์
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
คำอธิบายรายวิชา.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
ความคิดพื้นฐานทางการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนทัศน์ (Paradigm) บทเรียน 427-303 Sociological Theories 2/2550 16 พฤศจิกายน 2550 10.00-10.50 น. ห้อง 19405 กระบวนทัศน์ (Paradigm) มานพ จิตต์ภูษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

กระบวนทัศน์ (Paradigm) ทัศนะแม่บท กรอบการอ้างอิง (frame of reference)

องค์ประกอบของกระบวนทัศน์ (Paradigm) ภววิทยา (Ontology) ญาณวิทยา (Epistemology) วิธีวิทยา (Methodology)

ภววิทยา (Ontology) ภววิทยา มีคำถามว่า ความเป็นจริง คืออะไร ความเป็นจริงมีลักษณะเป็นสากล (universal) หรือ มีลักษณะจำเพาะ (particular)

ญาณวิทยา (Epistemology) ญาณวิทยา หรือ ทฤษฎีแห่งความรู้ เราจะรู้ความเป็นจริงได้อย่างไร ด้วยสิ่งประจักษ์ ด้วยความหมาย

วิธีวิทยา (Methodology) จะใช้วิธีการอะไร ในการได้ความรู้มา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ interpretative understanding

การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) เปลี่ยนจากการมองความจริงเชิงเดี่ยว ไปสู่การมองความจริงเชิงซ้อน(movement from single to complex realities) เปลี่ยนแนวคิดเกี่ยวกับกฏเกณฑ์ จากการรวมศูนย์อำนาจ มาสู่การยอมรับความหลากหลาย (movement from hierachic to heterachic concept of order)

การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) 3. เปลี่ยนวิธีคิดเชิงเปรียบเทียบ ในการมองความเป็นจริง เชิงกลไก แบบแยกส่วน มาสู่การมองเป็นองค์รวม (movement from a mechanical to holographic metaphor) 4. เปลี่ยนวิธีคิดจากการมีปัจจัยกำหนดแน่นอนตายตัว มาสู่ปัจจัยของความไม่แน่นอน(movement from determinancy to interdeterminancy)

การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) 5. เปลี่ยนวิธีคิด เกี่ยวกับสาเหตุเชิงเส้น มาสู่การมีสาเหตุร่วมกัน(movement from linear to mutual causality) 6. เปลี่ยนการมองสถานการณ์ หรือปรากฏการณ์ ที่ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนย่อยๆ มาสู่การเกิดขึ้นร่วมกัน (joint together) ของสิ่งนั้นๆ หรือองค์ประกอบที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์นั้นๆขึ้นมา(movement from assembly to morphogenesis)

การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) 7. เปลี่ยนการมอง อย่างเป็นปรนัยด้านเดียว มาสู่การมองอย่างลุ่มลึกรอบด้าน(movement from objective to perspectival views)

วิวัฒนาการ การแข่งขัน กระบวนทัศน์การพัฒนา กลไก แยกส่วน องค์รวม วิวัฒนาการ การแข่งขัน ความร่วมมือ

ความเท่าเทียม ความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม กระบวนทัศน์การพัฒนา การควบคุมธรรมชาติ การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ ความเท่าเทียม ความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม ความเหนือกว่าทางวัฒนธรรม

ให้ความสำคัญของจิตวิญญาณ มายา กระบวนทัศน์การพัฒนา รวมศูนย์อำนาจ กระจายอำนาจ ฐานของระบบชุมชน ปฏิเสธ จิตวิญญาณ ให้ความสำคัญของจิตวิญญาณ มายา

กระบวนทัศน์การพัฒนา เน้นบทบาทผู้ชาย ความเสมอภาค ทางเพศ

level of social reality and the major sociological paradigms Level of social reality Sociological paradigms Macro-subjective Macro-objective Social facts Social definition Micro-objective Social behavior integrated sociological paradigm

Radical structuralist 2 dimensions 4 paradigms Sociology of regulation subjectivity interpretive funtionalist objectivity Radical humanist Radical structuralist Sociology of radical change