Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
Knowledge Sharing Basic Of Bearing
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
การแตกแรง และ การรวมแรงมากกว่า 2 แรง
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
5.สมบัติยืดหยุ่นและสมบัติเชิงความร้อนของสสาร
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Homework 2D Equilibrium of Particle
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ว ความหนืด (Viscosity)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
Soil Mechanics Laboratory
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
Introduction to Statics
Equilibrium of a Particle
Structural Analysis (2)
Equilibrium of a Rigid Body
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
Systems of Forces and Moments
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
LOGO บัญชีรายได้ประชาชาติและองค์ประกอบค่าใช้จ่าย.
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
Application of PID Controller
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
วัตถุมวล 10 kg วางอยู่บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน สถิตย์ 0.8 และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ kg µ s = 0.8 µ k = 0.3 จงเขียนโปรแกรมซึ่งรับค่าขนาดของ.
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
ชุดที่ 7 ไป เมนูรอง.
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
เมื่อออกแรงผลักวัตถุ แล้วปล่อยให้วัตถุไถลไปตามพื้นราบในแนวระดับ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management Faculty of Science and Technology Rajabaht Maha Sarakham University

แรงเสียดทาน (Friction) เมื่อใดก็ตามที่วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นผิวที่ไม่มีความเรียบหรือผ่านตัวกลางที่มีความหนืด เช่น อากาศหรือน้ำ วัตถุจะถูกต้านทาน ส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการเคลื่อนที่อันเนื่องมาจากปฏิกิริยาระหว่างวัตถุกับสิ่งแวดล้อมที่วัตถุกำลังเคลื่อนที่อยู่นั้น เราเรียกสิ่งที่ต้านทานการเคลื่อนที่ของวัตถุว่า “แรงเสียดทาน”

แรงเสียดทานเกิดขึ้นได้อย่างไร? ผิวเรียบ ผิวขรุขระ เกิดแรงเสียดทานมาก เกิดแรงเสียดทานน้อย

แรงเสียดทานสถิตย์ แรงเสียดทานสถิตย์ (fs)เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อมวล M อยู่นิ่ง มีทิศทางตรงกันข้ามกับแรง P ที่มากระทำ W P F N F คือ แรงเสียดทานในสภาวะสมดุลย์

W P = 0 วัตถุยังคงหยุดนิ่ง N W ถ้าแรง F < fs วัตถุไม่เคลื่อนที่ แรงเสียทางสูงสุด = fs (max) =s.N (แรงเสียดทานสถิตย์) P F N W P ถ้าแรง F > fs วัตถุเคลื่อนที่ แรงเสียทางสูงสุด = fk (max) =k.N (แรงเสียดทานจลน์) F N

แรงเสียดทานจลน์ F > fs แรงเสียดทานจลน์ (fk) เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อมวล M กำลังเคลื่อนที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับแรง P ที่มากระทำ Motion F > fs W P F N F คือ แรงเสียดทานในสภาวะสมดุลย์

ตารางที่ 1 ส.ป.ส. แรงเสียดทานสถิตย์และแรงเสียดทานจลน์ ผิวสัมผัส ส.ป.ส. แรงเสียดทานสถิตย์ µs แรงเสียดทานจลน์ µk เหล็กกับเหล็ก, แห้ง เหล็กกับไม้, แห้ง เหล็กกับน้ำแข็ง ไม้กับไม้, แห้ง เหล็กกับเหล็ก, มีน้ำมัน 0.6 0.4 0.1 0.35 0.15 0.3 0.2 0.06 0.08

ขั้นตอนในการวิเคราะห์ 1. เขียน FBD ของคาน และหาค่าแรงปฏิกิริยา W P F N 2. คำนวณหาแรงเสียดทาน F ที่ทำให้วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลย์ 3. เปรียบเทียบ F กับแรงเสียดทานสถิตย์สูงสุด fs(max) ถ้า - F < fs แสดงว่า “วัตถุไม่เคลื่อนที่” และแรงเสียทานสูงสุด = fs(max) - F > fs แสดงว่า “วัตถุเคลื่อนที่” และแรงเสียทานสูงสุด = fk(max)

Case I : P = 300 N Case II : P = 400 N Case III : P = 500 N

F < fs ไม่เคลื่อนที่ Case I : P = 300 N Fy = 0; - 883 + N = 0, N = 883 N. Fx = 0; 300 -F = 0, F = 300 N. fs = µs x N = 0.50 x 883 = 441 N. W = 90 x 9.81 = 883 N. 300 N. F N

F < fs ไม่เคลื่อนที่ Case II : P = 400 N Fy = 0; - 883 + N = 0, N = 883 N. Fx = 0; 400 -F = 0, F = 400 N. fs = µs x N = 0.50 x 883 = 441 N. W = 90 x 9.81 = 883 N. 400 N. F N

F > fs เคลื่อนที่ Case III : P = 500 N Fy = 0; - 883 + N = 0, N = 883 N. Fx = 0; 500 -F = 0, F = 500 N. fs = µs x N = 0.50 x 883 = 441 N. fk = µk x N = 0.40 x 883 = 353 N. W = 90 x 9.81 = 883 N. 400 N. F F N

(วัตถุไม่เคลื่อนที่) Fy = 0; N – Psin 20-981 cos20 = 0 Fx = 0; Pcos20 – F - 981 sin 20 = 0 100 kg. 500 N. F F < Fmax (วัตถุไม่เคลื่อนที่)

F > Fmax (วัตถุเคลื่อนที่) Fy = 0; N – Psin 20-981 cos20 = 0 Fx = 0; Pcos20 – F - 981 sin 20 = 0 100 kg. 100 N. F F > Fmax (วัตถุเคลื่อนที่) F

Quiz # 10 Fs = 66 N. (No Motion) Fk = 148.5 N. (Motion)

Final Guide line Equilibrium of Rigid body Internal force of beam Truss Analysis Frame Analysis Equilibrium of Rigid body Frictions Internal force of beam