Introduction to Statics

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

สมดุลเคมี.
การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Equilibrium of a Particle
Equilibrium of a Rigid Body
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
อุณหพลศาสตร์ Thermodynamics
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
พลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Dynamics)
วัตถุประสงค์ ปริมาณพื้นฐาน และการจำลองสำหรับกลศาสตร์ (Basic quantities and idealizations of mechanics) กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และการโน้มถ่วง (Newton’s.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to Statics WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management Faculty of Science and Technology Rajabaht Maha Sarakham University

กลศาสตร์ (Mechanics) วิชากลศาสตรจะถูกแยกออกไดเปน 3 สาขาวิชาคือ กลศาสตรของวัตถุแข็งเกร็ง (rigid-body mechanics) กลศาสตรของวัตถุที่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปรางได (deformable-body mechanics) กลศาสตรของไหล (fluid mechanic)

กลศาสตรของวัตถุแข็งเกร็ง (rigid-body mechanics) a. สถิตยศาสตร (statics) ซึ่งจะศึกษาเกี่ยวกับสมดุลของวัตถุ (equilibrium of bodies) ที่อยูนิ่งกับที่หรือมีการเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่คงที่ b. พลศาสตร (dynamics) ซึ่งจะศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุอยางมีความเรง (acceleration)

ปริมาณพื้นฐาน (Basic Quantities) - ความยาว (length) ใชในการบอกตําแหนงของจุดใน space และจะใชในการบอกขนาดของวัตถุ เวลา (time) เปนปริมาณที่บงบอกถึงลําดับของเหตุการณ - มวล (mass) เปนคุณสมบัติของสสารที่เราใชเปรียบเทียบการกระทําของวัตถุหนึ่งต่อวัตถุอีกอันหนึ่ง - แรง (force) แรงอาจจะเกิดขึ้นจากการสัมผัสกันของวัตถุโดยตรงหรืออาจเกิดจากการดึงดูดกันเมื่อวัตถุไมมีการสัมผัสกัน

แนวคิดพื้นฐาน (Basic Concepts)

Newton’s Three Laws of Motion กฎขอแรก:“วัตถุจะคงสภาพหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ (ทิศทางคงที่และอัตราเร็วคงที่) เมื่อผลรวมของแงลัพธ์ที่กระทำต่อมันเป็นศูนย์“

Newton’s Three Laws of Motion กฎขอที่สอง:“ความเร่งของวัตถุจะแปรผันตามแรงที่กระทำต่อวัตถุ แต่จะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ”

Newton’s Three Laws of Motion กฎขอที่สาม: “แรงที่วัตถุที่หนึ่งกระทำต่อวัตถุที่สอง ย่อมเท่ากับ แรงที่วัตถุที่สองกระทำต่อวัตถุที่หนึ่ง แต่ทิศทางตรงข้ามกัน”

Newton’s law of Gravitational Attraction “วัตถุทั้งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน” โดยที่ ขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง จะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุทั้งสอง ขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่งๆ จะแปรผกผันกับกำลังสองของระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสอง”

เมื่อ r M1 และ M2 เป็นมวลของวัตถุแต่ละก้อน มีหน่วยเป็น กิโลกรัม G เป็นค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล เท่ากับ 6.673 x10-11 นิวตัน – เมตรต่อกิโลกรัม2 FG เป็นแรงดึงดูดระหว่างมวล m1 กับm2 มีหน่วยเป็น นิวตัน

หน่วยการวัด (Unit of Measurements)

ตัวคูณเพื่อแปลงหน่วย (Prefixes)