Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
จงหาส่วนประกอบของแรงในแนว ทำกับประจุที่จุดA(3,4,12) โดย F
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การวิเคราะห์ความเร็ว
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
การแตกแรง และ การรวมแรงมากกว่า 2 แรง
เวกเตอร์และสเกลาร์ขั้นสูง
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
เวกเตอร์และสเกลาร์ ขั้นสูง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
ระบบอนุภาค.
Force Vectors (3) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
Equilibrium of a Particle
Equilibrium of a Rigid Body
Force Vectors (2) WUTTIKRAI CHAIPANHA
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
แฟกทอเรียล (Factortial)
(Internal energy of system)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
Systems of Forces and Moments
สหสัมพันธ์ (correlation)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
Electrical Circuit Analysis 2
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai.
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Chapter 1 Vector.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management Faculty of Science and Technology Rajabaht Maha Sarakham University

สเกลาร์และเวกเตอร์ (Scalars and Vectors) ปริมาณทางฟิสิกส์สามารถแบ่งได้ 2 ชนิด ดังนี้ สเกลาร์ (Scalar) เป็นปริมาณที่บ่งบอกถึง ขนาดเพียงอย่างเดียว (ค่าตัวเลขทั้งค่าบวกและลบ) เช่น มวลสาร ปริมาตรและความยาว เวกเตอร์ (Vector) เป็นปริมาณที่บ่งบอกทั้งขนาดและทิศทาง (ค่าตัวเลขเป็นเลขบวก) เช่น แรงและโมเมนต์

เขียนปริมาณเวกเตอร์ A โดยใช้สัญลักษณ์ ขนาดของเวกเตอร์ A แทนด้วย Head p A 20 Tail O เขียนปริมาณเวกเตอร์ A โดยใช้สัญลักษณ์ ขนาดของเวกเตอร์ A แทนด้วย A [A]

วิธีทางเทคนิคของเวกเตอร์ การคูณเวกเตอร์ การคูณและการหารเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ การคูณจะใช้ตัวเลขจำนวนเต็มในการคูณ เช่น 2A A A x 2 = 2A

การหารจะใช้ตัวเลขเศษส่วนในการคูณ เช่น การหารเวกเตอร์ การหารจะใช้ตัวเลขเศษส่วนในการคูณ เช่น A 0.5A A x 1/2 = 0.5A

การบวกเวกเตอร์ (Vector Addition) ทำได้ 2 วิธี 1 . เวกเตอร์ หางต่อหาง เช่น A+B A A R=A+B B B โดยนำหางของเวกเตอร์ A ต่อกับหางของเวกเตอร์ B จะทำให้เกิดเวกเตอร์ลัพธ์ R = A+B เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน

2 . เวกเตอร์ หัวต่อหาง เช่น A+B R=A+B B โดยนำหัวของเวกเตอร์ A ต่อกับหางของเวกเตอร์ B จะทำให้เกิดเวกเตอร์ลัพธ์ R = A+B

การหาค่าแรงลัพธ์หรือผลบวกของเวกเตอร์ (Vector R) วิธีที่ 1 กราฟฟิค (Graphic) วาดภาพเวกเตอร์ตามวิธีการบวกเวกเตอร์ในมาตราส่วนที่เหมาะสม และความวัดยาวของแรงลัพธ์เวกเตอร์ R A R=A+B B B A R=A+B 11.5 unit

วิธีที่ 2 กฎของโคซายน์ (Cosine Law) แบบที่ 1 A R  B

วิธีที่ 2 กฎของโคซายน์ (Cosine’s Law) แบบที่ 2 A R  B

วิธีที่ 3 กฎของซายน์ (Sine Law) ในกรณีต้องการรู้ค่าตัวแปรที่ไม่ทราบค่าที่ต้องการหาค่า (มักจะใช้ในการหาค่าทิศทางของแรงลัพธ์) c B A b a C

การบวกเวกเตอร์หลายแรง (Vector Addition of Forces) ยกตัวอย่างเช่น มีเวกเตอร์ของแรง 3 แรง F1,F2และF3 ดังรูป F2 F1 F3 ทำโดยการรวมเวกเตอร์หัวต่อหางของเวกเตอร์ F1+F2 ก่อน แล้วค่อยนำเวกเตอร์ F1+F2 ไปรวมกับเวกเตอร์ F3

F2 F2 F1 F1+F2 F1+F2 F1 F3 (F1+F2)+F3 F3 F1+F2 FR =(F1+F2)+F3

ผลรวมของแรงที่อยู่ในระนาบเดียวกัน y j F1 F2 -x x i F3 -y สามารถรวมแรงในระบบได้ 2 วิธี วิธีเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก (Cartesian Vector) วิธีสเกลาร์ (Scalar)

วิธีเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก (Cartesian Vector) y j เวกเตอร์ของแรงสามารถแตกให้อยู่ในแกน x และ y ได้ ยกตัวอย่างเช่นแรง F1 จะสามารถแตกแรงให้อยู่ในระบบพิกัดฉากได้ F1 = F1xi + F1yj และ F2,F3 ก็แตกแรงได้เช่นเดียวกัน F2 = -F2xi + F2yj F3 = F3xi – F3yj F1 F2 -x x i F3 -y y F2y j F1y F1 F2 F2x F1x -x F3x x i F3 F3y -y

= F1xi + F1yj – F2xi + F2yj + F3xi - F3yj แรงลัพธ์เวกเตอร์ FR FR = F1+F2+F3 = F1xi + F1yj – F2xi + F2yj + F3xi - F3yj = (F1x – F2x + F3x) i + (F1y + F2y – F3y) j = (FRx) i + (FRy) j

ขนาดของ FR หาได้จาก Pythagorean Theorem FRy  -x x FRx -y

วิธีสเกลาร์ (Scalar) y j วิธีนี้จะต้องกำหนดทิศทางของแรงดังนี้ FRx = F1x – F2x + F3x FRy = F1y + F2y - F3y หรือ FRx = Fx FRy = Fy F1 F2 -x x i F3 -y y F2y j F1y F1 F2 F2x F1x -x F3x x i F3 F3y -y

ขนาดของ FR หาได้จาก Pythagorean Theorem FRy  -x x FRx -y

Quiz # 1.1

Quiz # 1.2 1.1