คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CoPsป้องกันและดูแลแผลกดทับ
Advertisements

Your company slogan The KKU SHOW & SHARE 2011 การสร้างโปรแกรมติดตามผลการ ปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี (Warning System) เจ้าของ ผลงาน นางวลาลักษณ์
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ประสบการณ์และวิธีการจัดการความรู้ ในงานบริการพยาบาล
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สวัสดีครับ.
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
Participation : Road to Success
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
Point of care management Blood glucose meter
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO ) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทศวรรษที่ 1 (พ.ศ. 2515 - 2524) : ยุคแห่งการก่อร่าง สร้างบ้าน ทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2525 - 2534) : ยุคแห่งการพัฒนาคน พัฒนางาน ทศวรรษที่ 3 (พ.ศ. 2535 - 2544) : ยุคแห่งคุณภาพ ทศวรรษที่ 4 (พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน) : ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้

ช่วงทศวรรษที่ 2 และ 3  พัฒนาคนและงานเป็นอย่างมาก  ยึดคุณภาพเป็นหลัก  เกิดกิจกรรม  มีการรวมตัวกันข้ามสายงาน  มีการนำเสนอผลงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ >> มีการประชุมด้าน QA (Quality Assurance) ทุก ๆ 3 เดือน

ทศวรรษที่ 4 : ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้ ทศวรรษที่ 4 : ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้ ทำความกระจ่าง (clarification) ในเรื่อง KM 1. Outside-in คือ การเชิญผู้รู้ในเรื่องต่างๆมาเล่า มาบรรยายให้คนของคณะได้รับทราบ 2. Inside-out คือ การส่งบุคลากรของคณะไปจับเอาความรู้ (Knowledge capture) ในเรื่องจากภายนอก

ก้าวสำคัญของการเริ่มนำ KM มาใช้อย่างเป็นระบบในคณะ ให้ขยายจุดเน้น (focus) ของการพัฒนาบุคลากร  คนและความรู้ (knowledge) เป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุด ของคณะ " พัฒนาคน พัฒนางาน และจัดการความรู้ โดยชูคุณภาพเป็นหัวใจ และมุ่งไปที่ผู้รับบริการเป็นสำคัญ"

แผนที่ยุทธศาสตร์เพื่อนำคณะแพทยศาสตร์ ไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ อาศัยการจัดการความรู้เป็นกระบวนการ ( ใช้ KM ) บูรณาการ (integrate) KM mission : จะเป็นคณะแพทยศาสตร์ที่มีการ บริหารจัดการความรู้ ที่เป็นตัวอย่าง (Best practice) ของคณะแพทยศาสตร์อื่นๆ ใน 4 ปี

ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ หน้าที่ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ กำหนดเป้าหมายของการจัดการความรู้ขององค์กร สร้างบรรยากาศขององค์กรให้เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บริหารจัดการความรู้ภายในองค์กร ทำแผนการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กร สร้างเครือข่ายความรู้กับองค์กรอื่น ๆ คณะกรรมการชุดนี้จะมีวาระ 2 ปี (16 กันยายน 2547 - 15 กันยายน 2549)

ความรู้ที่คณะแพทยศาสตร์ มอ.จะนำมาจัดการ 1 ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ตรงของผู้ปฏิบัติงาน 2 ความรู้และนวัตกรรมในการบริหารจัดการ 3 ความรู้ใหม่จากภายนอกที่นำมาประยุกต์ใช้ในคณะแพทยศาสตร์

การดำเนินงาน 1 จัดเวที Knowledge Sharing Day 2 เชิญวิทยากรจาก สคส. มาถ่ายทอดเทคนิควิธีการในแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 จัดให้มีการ coaching ระหว่างหน่วยงาน 4 หา best practice แล้วมากำหนดเป็นมาตรฐานของคณะ 5 มี web board 6 มีเวทีในการติดต่อแลกเปลี่ยนความรู้ 7 ประกาศ สนับสนุนให้จัดตั้งกลุ่ม หรือชุมชนนักปฏิบัติ

การสื่อสาร KM 1 เรื่องจัดทำ KM NEWS กำหนดออกทุก 2 เดือน 2 Knowledge Sharing Day กำหนดจัดปีละ 3 ครั้ง

ดัชนีหลัก (Indicator) วัดความสำเร็จ ด้านการจัดการความรู้ KM Activity ไม่กำหนดจำนวนครั้ง/ จำนวนคนที่เข้าร่วม แต่ เน้นคุณภาพ จัดตามความพร้อม CoP ตั้งเป้าหมาย 5 กลุ่ม/ปี ODOK(One Division/Department One Knowledge ) : หนึ่งหน่วยงาน หนึ่งความรู้

KM TOOL ศักยภาพของ "คน" นำมาซึ่งความสำเร็จอย่างน่ามหัศจรรย์ ศักยภาพ โดดเด่นขึ้นมา ที่สำคัญอยู่ที่ใจ โดยการนำประสบการณ์ ความรู้ที่มีอยู่ในคน (Tacit Knowledge) และ "คว้า" (Capture) ความรู้ภายนอกองค์กรมาใช้ในการทำงาน

ตัวอย่าง KM TOOL - การจัดตารางรายชื่อและวิธีติดต่อผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน - การกระจายความรู้ - การจัดประชุมให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ - การจัดกระบวนการกลุ่มให้คนต่างหน่วยงานได้มาทำงานแก้ปัญหาร่วมกัน

Knowledge sharing Best practice ด้านการประสานงานร่วมมือ การสื่อสารที่ดีที่สุด อายุรศาสตร์ หน่วยรังสีรักษา คลินิกหู คอ จมูก ภาคกุมารเวชศาสตร์ ภาควิสัญญีวิทยา

ตัวย่าง Best Practice ด้านการประสานงานร่วมมือและช่วยเหลือกัน ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ของหอผู้ป่วยพิเศษเฉลิมพระบารมี 8

กลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จ ทีมเจ้าหน้าที่หอผู้ป่วย + ทีมแพทย์ + ทีมเจ้าหน้าที่อื่นๆ การสื่อสารภายในทีม ใช้สมุดบันทึกเหตุการณ์ แฟ้มหนังสือเวียน การประชุมหอผู้ป่วยทุก 2 เดือน ทีมเจ้าหน้าที่หอผู้ป่วย  ทุกคนมองเห็นปัญหาและร่วมกัน  การติดตามอย่างใกล้ชิด  การตอบสนองอย่างรวดเร็ว หลักในการบริหารทีมที่สำคัญ หัวหน้าต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ลูกน้อง ใช้หลักการกระจายงาน เปิดโอกาสให้ทุกคนแสดงความคิดเห็น

กลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จ 2. ทีมแพทย์ จัดเจ้าหน้าที่ตามแพทย์ การสื่อสารกับแพทย์ 3. ทีมเจ้าหน้าที่อื่นๆ เจ้าหน้าที่โภชนาการอาหาร

“ในการทำงาน ถ้าเราจะบริการให้ดี ต้องคิดเสมอว่า ผู้ที่อยู่ตรงหน้าเรา เป็นเสมือน พ่อ แม่ หรือญาติของเรา ถ้าเราคิดได้อย่างนี้ เราต้องทำดีแน่นอน”

CoP ของคณะแพทยศาสตร์  CoP ปีละ 5 กลุ่ม - กลุ่มที่มีความสนใจเรื่องเดียวกันมาร่วมกันพัฒนา - รวมกลุ่มบุคลากรที่หลากหลาย

CoP ที่เน้นการบริหารจัดการ CoP Discharge Planning       - CoP ระบบนัด        - CoP การบริหารยา (Medication Error) จัดตั้งกลุ่ม CoP ด้านการบริหาร

IT กับการจัดการความรู้ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ระบบเครือข่าย IT (Network) 2. ระบบความปลอดภัย (Security) 3. การออกแบบระบบฐานข้อมูล 4. โปรแกรมสนับสนุนเพื่อช่วยสืบค้นข้อมูล

IT กับการจัดการความรู้

ตัวอย่าง WEBBOARD

ตัวอย่าง WEBBOARD

เรียนรู้จากงาน เจือจานแบ่งปัน เรียนรู้ด้วยกัน สร้างสรรค์คณะเรา บทส่งท้าย เรียนรู้ ลองทำ และปรับใช้อย่างต่อเนื่อง เรียนรู้จากงาน เจือจานแบ่งปัน เรียนรู้ด้วยกัน สร้างสรรค์คณะเรา