โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กฎกระทรวง กำหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับวัตถุอันตราย พ. ศ
Advertisements

วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
3. ข้อสอบที่ตัวลวงไม่มีประสิทธิภาพ คือ เห็นได้ชัดว่าตัวลวงผิด
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
เงิน.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
"อย่าล้อเล่น บนความสะเทือนใจของผู้อื่น...“
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน มหาวิทยาลัยพายัพ จำกัด
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
มาสเตอร์วุฒินันท์ สิงห์เผ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
การแจกแจงปกติ.
Mathematics Money
เรื่อง การคิดวิเคราะห์ โดย นางโสภาพรรณ ชื่นทองคำ โรงเรียนบ้านสันกำแพง
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
การเปรียบเทียบค่าเงินเหรียญ
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
เกมส์ทางคณิตศาสตร์.
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
การสอนการแก้โจทย์ปัญหาการแก้สมการ
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
เราไป กันเลย. ปิดโปรแกรม ข. 11,620 บาท ข. 11,620 บาท ค. 10,620 บาท ค. 10,620 บาท ง. 10,630 บาท ง. 10,630 บาท โดย.. วิภา รัตนพิทย์ 1. สมปองมีเงิน 1,315.
 2003 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand.
การคำนวณภาษีและค่าปรับ สินค้ายาสูบ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
การตรวจสอบและปรับปรุงรายการบัญชี
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สำนักวิเคราะห์งบประมาณส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวี สุนทร นำเสนอ.
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ เงิน เงิน เงิน โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ

   โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน     บันทึกรายรับ-รายจ่าย ประกอบด้วย เงิน  การเปรียบเทียบค่าของเงินเหรียญและธนบัตร   การแลกเงิน    โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน     บันทึกรายรับ-รายจ่าย

การเปรียบเทียบค่าของเงิน  1 สลึง เท่ากับ 25 สตางค์  4 สลึง เท่ากับ 1 บาท  1 บาท เท่ากับ 100 สตางค์  2 บาท 50 สตางค์ เท่ากับ 250 สตางค์ 10.00 บาท เท่ากับ 1,000 สตางค์ ฯลฯ

เหรียญ 50 สตางค์ 10 เหรียญ แลกเหรียญบาท ได้ การแลกเงิน...ค่ะ เหรียญ 50 สตางค์ 10 เหรียญ แลกเหรียญบาท ได้ 5 เหรียญ เหรียญห้าบาท 8 เหรียญ แลกธนบัตรใบละยี่สิบได้ 2 ใบ เหรียญสิบบาท 10 เหรียญ แลกธนบัตรใบละ ร้อยบาทได้ 1 ใบ

ธนบัตรใบละยี่สิบบาท 5 ใบ แลก ธนบัตรใบละร้อย บาทได้ 1 ใบ การแลกเงิน...ค่ะ ธนบัตรใบละยี่สิบบาท 5 ใบ แลก ธนบัตรใบละร้อย บาทได้ 1 ใบ ธนบัตรใบละห้าร้อยบาท 4 ใบ แลกธนบัตรใบละ หนึ่งพันบาทได้ 2 ใบ ธนบัตรใบละห้าสิบบาท 4 ใบแลกธนบัตรใบละ ร้อยบาทได้ 2 ใบ

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน ตัวอย่างที่ 1 โสภามีเงิน 14.50 บาท โสภีมีเงิน 20.25บาท ทั้งสองคนมีเงินรวมกันเท่าไร วิธีคิด นำเงินของทั้งสองคน แยกเป็นหน่วยบาท และสตางค์ เอา เงินของโสภาและเงินของโสภี มารวมกัน คือ 14+20 = 34 บาท แล้วเอา 50 สตางค์ รวมกับ 25 สตางค์ มีค่าเท่ากับ 75 สตางค์ แล้ว นำเอา 34 บาท รวมกับ 75 สตางค์ จะมีค่าเท่ากับ 34.75 บาท

ตัวอย่างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน ตัวอย่างที่ 2 โสภามีเงิน 14.50 บาท โสภีมีเงิน 20.25บาท ทั้งสองคนมีเงินรวมกันเท่าไร วิธีทำ บาท สตางค์ โสภามีเงิน 14 50+ โสภีมีเงิน 20 25 ทั้งสองคนมีเงินรวมกัน 34 75 ตอบ ๓๔ บาท ๗๕ สตางค์ ๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘๘

บันทึกรายรับ-รายจ่าย ของ ด.ญ.รจนา สืบสุข บันทึกรายรับ-รายจ่าย ของ ด.ญ.รจนา สืบสุข วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2547

แหล่งข้อมูล...ค่ะ หนังสือเรียนคณิตศาสตร์  หนังสือเสริมนอกบทเรียน