การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
Workshop 1.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
1. แบบ SNRU-ERM 1 แบบแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน (Key Process)
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การเขียนโครงการ.
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเงิน.
สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
หมวด2 9 คำถาม.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
การประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด ประจำปี 2556
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
แผนภาพ KEY PROCESS หน่วยงาน. ยุทธศาสตร์ที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การบริหารความเสี่ยง กับการดำเนินงานห้องสมุด
กลุ่มที่ 3.
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
การบริหารความเสี่ยง สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
เราเป็นผู้นำ.
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ การจัดการแผนกลยุทธ์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
“การเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการเงินในระบบสหกรณ์"
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
การเขียนโครงการ.
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี วิทยากรที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาการจัดการองค์กร

การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ เป้าหมายการดำเนินการสหกรณ์ ปัญหาที่พบในการดำเนินการ ประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริหาร ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ ความหมาย กระบวนการบริหารความเสี่ยง การกำหนดวัตถุประสงค์ การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง การติดตามประเมินผลและรายงานความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

เป้าหมายการดำเนินการของสหกรณ์ เพื่อ 1. ผลกำไร 2. สมาชิกสหกรณ์พึงพอใจ ภายใต้ อุดมการณ์และหลักการสหกรณ์ การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

ปัญหาที่พบในการดำเนินการ เช่น สมาชิกขาดสภาพคล่องในการชำระหนี้ ต้นทุนในการจัดหาเงินทุนสูง แหล่งเงินทุนมีจำนวนจำกัด สมาชิกใช้เงินผิดวัตถุประสงค์การขอกู้ สมาชิกขาดความรู้ในการบริหารจัดการ การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

ประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริหารความเสี่ยง 1 . ลดผลกระทบในการดำเนินการเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายของสหกรณ์ 2 . เพิ่มโอกาสในการระดมทุนจากสหกรณ์ นอกภาค และเพิ่มความมั่นใจให้กับ ผู้ลงทุน เนื่องจากการบริหารความเสี่ยง ส่งผลให้ผู้ลงทุนมีความเสี่ยงลดลง การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

ความหมาย ความเสี่ยง ( Risk ) คือ เหตุการณ์หรือ การกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผลกระทบต่อการบรรลุ เป้าหมายของสหกรณ์ การบริหารความเสี่ยง ( Risk Management ) คือ การระบุความเสี่ยงและประเมินความเสี่ยง โดยพิจารณาทั้งโอกาสในการเกิดและผลกระทบ และจัดการความเสี่ยงให้ลดลงด้วยแผนบริหาร ความเสี่ยง รวมทั้งติดตามและประเมินความเสี่ยง ได้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้สหกรณ์บรรลุเป้าหมาย การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

กระบวนการบริหารความเสี่ยง ( Risk Management Process ) 1 กำหนดวัตถุประสงค์ 5 ติดตาม ประเมินผล และรายงานความเสี่ยง 3 ประเมินความเสี่ยง 2 ระบุความเสี่ยง 4 จัดการความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

1. การกำหนดวัตถุประสงค์ ต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และทิศทางของ สหกรณ์ ควรใช้หลัก SMART (ชัด-วัด-ปฏิบัติ-สม-เวลา) Specific = ชัดเจน Measurable = วัดได้ Achievable = ปฏิบัติได้ Reasonable = สมเหตุสมผล Time Constrained = มีกรอบเวลา การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

2. การระบุความเสี่ยง โดยจำแนกประเภทความเสี่ยงตาม ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริง และระบุ ปัจจัยความเสี่ยงตามประเภทของ ความเสี่ยง ซึ่งปัจจัยความเสี่ยงเกิดได้ จากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

แผนที่ความเสี่ยง ( Risk Map ) ข้อ 1.1 ข้อ 2.1 ข้อ 3.1 ข้อ 4.1 ข้อ 5.1 ด้านกลยุทธ์ ข้อ 2.1 2 ด้านเครดิต ข้อ 3.1 3 ด้านตลาด ข้อ 4.1 4 ด้าน สภาพคล่อง ข้อ 5.1 5 ปฏิบัติการ แผนที่ความเสี่ยง ( Risk Map ) การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

3. การประเมินความเสี่ยง ใช้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาโอกาสในการเกิดความเสี่ยง (Likelihood) โดยจัดระดับของการเกิดความเสี่ยงเป็น 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ำ และต่ำมาก แทนด้วยตัวเลข 5,4,3,2,1 ตามลำดับ 2. พิจารณาความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดจาก ความเสี่ยง (Impact) โดยจัดระดับความรุนแรงของ ผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงเป็น 5 ระดับ คือ การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

ตัวอย่าง การจัดระดับโอกาสในการเกิดความเสี่ยง 5 สูงมาก ความหมาย คำอธิบาย 5 สูงมาก 1 เดือนต่อครั้ง หรือมากกว่า 4 สูง มากกว่า 1 เดือน – 6 เดือนต่อครั้ง แต่ไม่เกิน 5 ครั้งต่อปี 3 ปานกลาง 1 ปี ต่อครั้ง 2 ต่ำ 2-3 ปีต่อครั้ง 1 ต่ำมาก 4 ปีต่อครั้ง การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

ตัวอย่าง การจัดระดับผลกระทบด้านชื่อเสียงสหกรณ์  5 สูงมาก 4 สูง 3 ความหมาย กรรมการ สหกรณ์ สมาชิก วงการ มวลชน ต่าง ประเทศ 5 สูงมาก  4 สูง 3 ปานกลาง 2 ต่ำ 1 ต่ำมาก การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

การจัดระดับความเสี่ยง โดยพิจารณาผังจัดระดับความเสี่ยง ผลกระทบ (Impact) สูงมาก 5 สูง 4 ปานกลาง 3 ต่ำ 2 ต่ำมาก 1 5 สูงมาก 4 สูง 3 ปานกลาง 2 ต่ำ 1 ต่ำมาก โอกาส (Likelihood) M L VL H VH การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

การจัดระดับความเสี่ยง ความหมายระดับความเสี่ยง : VH = ระดับความเสี่ยงสูงมาก H = ระดับความเสี่ยงสูง M = ระดับความเสี่ยงปานกลาง L = ระดับความเสี่ยงต่ำ VL = ระดับความเสี่ยงต่ำมาก การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

4. การจัดการความเสี่ยง ดำเนินการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง และจัดทำแผน ปฏิบัติการรองรับความเสี่ยงสำหรับความเสี่ยงที่อยู่ใน ระดับ VH และ H ให้มีความเสี่ยงลดลงมาอยู่ในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ระดับความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง VH จัดทำแผนปฏิบัติการรองรับความเสี่ยง H M กำหนดให้มีผู้ดูแลรับผิดชอบความเสี่ยง L กำหนดให้มีการควบคุมในกระบวนการปฏิบัติงาน VL การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

5. การติดตาม ประเมินผล และรายงานความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบควรติดตามผลทุก 6 เดือน และประเมินการตอบสนองความเสี่ยง เพื่อ ระบุระดับความเสี่ยง หลังการจัดการความเสี่ยง และกำหนดวิธีการตอบสนองความเสี่ยงอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ รวมทั้งรายงานผลการจัดการความ เสี่ยงต่อคณะกรรมการสหกรณ์ การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 26-27 ก.ค. 2551

ขอบคุณครับ