การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ศรคม เงินศรี วิทยากรที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาการจัดการองค์กร
KM (การจัดการความรู้) กระบวนการที่องค์กรใช้ ในการสร้างคุณค่า จากทรัพย์สินทางปัญญาและความรู้ที่มีอยู่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ฐานความรู้ที่แลกเปลี่ยนกัน ความรู้ในองค์กร เอกสาร ในหัวของพนักงาน เอกสาร อิเลคทรอนิกส์ ฐานความรู้ที่แลกเปลี่ยนกัน Source: Survey of 400 Executives by Delphi
วิธีการถ่ายทอดความรู้ เรียนรู้จากประสบการณ์ การสอนงาน อบรมเป็นทางการ อื่นๆ แลกเปลี่ยนอย่างเป็นระบบจากฐานความรู้ Source: Survey of 400 Executives by Delphi
แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก ความรู้ในคน A อธิบายได้ และถูกนำไปบันทึก Explicit Knowledge B Tacit Knowledge อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก C D อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย อธิบายไม่ได้
ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน ประเภทของความรู้ Document (เอกสาร) Rule (กฎ ระเบียบ) Practice (วิธีปฏิบัติงาน) System (ระบบ) Explicit Knowledge ความรู้ที่ชัดแจ้ง กระบวนการ แปลงความรู้ Tacit Knowledge ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน Skill (ทักษะ) Experience (ประสบการณ์) Mind of individual (ความคิด)
องค์กรที่ควรทำ KM เมื่อมีปัญหาในงาน ไม่รู้ว่าจะไปถามคนเก่งได้ที่ไหน เมื่อบุคลากรเกษียณอายุหรือลาออก มักมีผลกระทบกับงาน เมื่อมีปัญหาในงาน ไม่รู้ว่าจะไปถามคนเก่งได้ที่ไหน ใช้เวลานานในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งก็ไม่ค่อยพบ หรือถ้าพบ ข้อมูลก็ไม่ครบถ้วน ทันสมัยตามที่ต้องการ มีผู้รู้มากมาย แต่ไม่สนใจเพิ่มพูนแบ่งปันความรู้ มีข้อมูลท่วมท้น แต่ไม่ได้นำมาให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
บันไดสี่ขั้นสู่การเรียนรู้และพัฒนา เลียนรู้ รับรู้ ไม่รู้
KM Model Knowledge Vision KV KS Knowledge Sharing KA Knowledge Assets
KM ต้องเปิดใจ สมอง หู ปาก ใจ มือ ตา
แนวทางการจัดการความรู้ รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร รับและถ่ายทอดความรู้ที่มีประโยชน์จากภายนอกองค์กร แสวงหาและแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
CoP นำ Tacit ไปสู่ Explicit CoP (Communities of Practices) หรือชุมชนนักปฏิบัติ หมายถึง เครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ความชำนาญ และวิธีปฏิบัติที่ดีของกลุ่มคนที่มีจุดหมายหรือพันธกิจร่วมกัน ผ่านช่องทางการปฏิสัมพันธ์ของกลุ่ม - APQC
การฟังแบบต่าง ๆ ไม่สนใจฟังผู้สนทนา ฟังแบบเสแสร้งฟัง ฟังแบบเลือกสิ่งที่อยากฟัง ฟังแบบตั้งอกตั้งใจฟัง ฟังแบบเข้าอกเข้าใจ
องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization ; LO) เป็นองค์กรซึ่งคนในองค์กรได้ขยายขอบเขตความสามารถของตนอย่างต่อเนื่อง ทั้งในระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร เพื่อจะนำไปสู่จุดหมายที่บุคคลระดับต่าง ๆ ในองค์กรต้องการอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นองค์กรที่มีความคิดใหม่ ๆ เกิดขึ้น และแตกแขนงทางความคิด ได้รับการยอมรับเอาใจใส่ รวมทั้งเป็นองค์กรที่บุคคลจะมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องไปพร้อม ๆ กันทั้งองค์กร - Peter M.Senge
หลักการสำคัญ 5 ประการ ในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีสติและจิตสำนึกในการตอบสนองที่ดี มีวิสัยทัศน์และความยึดมั่นร่วมกัน เรียนรู้เป็นทีม พัฒนาระบบความคิด -Peter M.Senge
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน Workshop การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน