กฎหมายภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับ “สหกรณ์” นายฤทธิรณ วงศ์นวล นิติกรชำนาญการ สท.ลำปาง นบ. , นบท. , นม.(กฎหมายภาษี) 18 พฤศจิกายน 2556
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมสรรพากร 1.กรมสรรพากร กรมสรรพากร + กรมส่งเสริมสหกรณ์ ในอดีตเคยเป็นญาติกัน ?? เครื่องหมายราชการของกรมสรรพากร เป้าจัดเก็บปีงบประมาณ 2557 1.89 ล้านล้าน (คิดเป็นร้อยละ 83.1 ของประมาณการรายรับ 2.17 ล้านล้าน) 2.ภาษีที่กรมสรรพากรจัดเก็บ -จัดเก็บตามประมวลรัษฎากร (ภาษีเงินได้ (บุคคลธรรมดา+นิติบุคคล) , ภาษีมูลค่าเพิ่ม , ภาษีธุรกิจเฉพาะ , อากรแสตมป์) -ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ตาม พรบ.ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ.2514 3.แหล่งข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับกรมสรรพากร , สท.ลำปาง
สหกรณ์ กับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประมวลรัษฎากร(ปรก.) 1.1 ปรก.เป็นกฎหมายพิเศษ 1.2 การเปิดประมวล 1.3 เงินได้พึงประเมิน และประเภทของเงินได้พึงประเมิน 2.สหกรณ์ กับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2.1 สหกรณ์ + ภาษีเงินได้ 2.2 สหกรณ์ + ภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.3 สหกรณ์ + ภาษีธุรกิจเฉพาะ 2.4 สหกรณ์ + อากรแสตมป์
1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประมวลรัษฎากร 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประมวลรัษฎากร(ปรก.) 1.1 ปรก.เป็นกฎหมายพิเศษ เงินเพิ่ม ม.27 ปรก.+ ดอกเบี้ย ม.7 , ม.224 ปพพ. อำนาจยึดอายัด ม.12 ปรก. + การยึดอายัด ปพพ./ปวิพ. กรณี ม.42 พรบ.สหกรณ์ พ.ศ.2542 1.2 การเปิดประมวลรัษฎากร 1.3 เงินได้พึงประเมิน และประเภทของเงินได้พึงประเมิน
2. สหกรณ์ กับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2.1 สหกรณ์ + ภาษีเงินได้ 2.1.1 สหกรณ์ + ภาษีเงินได้นิติบุคคล -มาตรา 35 ปรก. “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล” -หักภาษี ณ ที่จ่าย กรณีกฎหมายกำหนดให้มีหน้าที่ต้องหัก 2.1.2 สหกรณ์ + ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย -ขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี ม.3 เอกาทส +ประกาศอธิบดีกำหนดให้มีเลข ผู้เสียภาษี ก่อนจ่ายเงินได้ -กรณีที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย และนำส่งกรมสรรพากร (ม.50 , ม.3 เตรส + ทป.4/2528 + กฎกระทรวงฯ ฉ.144(พ.ศ.2522) , ม.69 ตรี –หักภาษีกรณีขายอสังหาฯ , ม.70-หักภาษีเงินได้ส่งออกนอกประเทศ )
2. สหกรณ์ กับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2.1 สหกรณ์ + ภาษีเงินได้ 2.1.3 สหกรณ์ + ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1. บุคคลภายนอกสหกรณ์ WT นำส่งกรมสรรพากร (ม.50+ม.3เตรส) 2.บุคคลภายในสหกรณ์ -พนักงาน WT นำส่งกรมสรรพากร (ม.50+ม.3เตรส) -สมาชิก WT นำส่งกรมสรรพากร (ม.50+ม.3เตรส) -สมาชิกได้รับยกเว้นเงินได้ที่ได้รับจากสหกรณ์กรณี ดอกเบี้ย -เงินฝากออมทรัพย์ทั้งหมด(ม.42(8)(ข) / ประจำยกเว้นแบบมีเงื่อนไข(พรฎ (ฉ.301)พ.ศ.2539) -เงินปันผล+เงินเฉลี่ยคืนทั้งหมด(พรฎ (ฉ.40)พ.ศ.2514)
2. สหกรณ์ กับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2.2 สหกรณ์ + ภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.2.1 ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.2.2 การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ม.81 , 81/1-81/3) 2.2.3 ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (ม.78 , 78/1-78/3) 2.2.4 ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม (ม.79 , 79/1-79/7) 2.2.5 อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม มี 2 อัตราคือ(1) ร้อยละ 10 พรฎ (ฉ.549) พ.ศ.2555 ลดเหลือ ร้อยละ6.3 และ(2) ร้อยละ 0 2.2.6 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.2.7 หน้าที่ของผู้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
2. สหกรณ์ กับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2.3 สหกรณ์ + ภาษีธุรกิจเฉพาะ 2.3.1 ผู้มีหน้าที่เสียภาษี (ม.91/2) 2.3.2 การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/3) 2.3.3 ฐานภาษี กรณีขายอสังหาริมทรัพย์ คือ รายรับก่อนหักรายจ่าย (ม.91/5(6)) 2.3.4อัตราภาษี กรณีขายอสังหาฯ ร้อยละ 3.0 (ม.91/6(3)) + ภาษีท้องถิ่น อีกร้อยละ 10 ของจำนวนภาษี 2.3.5หน้าที่ของผู้เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ -จดทะเบียน ภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มประกอบกิจการ -ยื่นแบบแสดงรายการ เป็นรายเดือนภาษีภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป -ทำรายงานแสดงรายรับก่อนหักรายจ่าย , ออกใบรับให้ผู้ซื้อ , ผู้เช่าซื้อ หรือผู้จ่ายเงิน
2. สหกรณ์ กับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2.4 สหกรณ์ + อากรแสตมป์ 2.4.1 ตราสารที่ต้องเสียอากรแสตมป์ เอกสารที่ต้องเสียอากรตาม ปรก.มี 28 ลักษณะ 2.4.2 ผู้มีหน้าที่เสียอากรแสตมป์ ช่องที่ 3 บัญชีอัตราอากรแสตมป์ , กรณีตราสารขึ้นในต่างประเทศ ให้ผู้ทรงตราสารคนแรกในประเทศเป็นผู้เสียภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับตราสารนั้น 2.4.3 การยกเว้นอากร พรฎ.(ฉ.10)พ.ศ.2500 2.4.4 วิธีการเสียอากร
สหกรณ์ กับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ???คำถาม ???