ระบบรัฐสภา (Parliamentary System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ข้อเสนอว่าด้วย ระบบเลือกตั้งและสถาบันการเมือง
สหภาพยุโรปในฐานะมหาอำนาจระดับกลางและบทบาทต่อการเมืองโลก
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
แผนปฏิบัติตามกรอบอำนาจหน้าที่ของ คณะอนุกรรมาธิการความสัมพันธ์ เศรษฐกิจ การศึกษา มิตรภาพ ไทย-จีน-อาเซียน ตามประกาศกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ที่
วิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์ กับ สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัยไทย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กฎหมายเบื้องต้น.
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)
สภาพแวดล้อมในกระแส โลกาภิวัตน์ (Environment)
สัปดาห์ที่ 4.
การเลือกตั้ง (Election)
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
YOUR SUBTITLE GOES HERE
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
Good Corporate Governance
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ความยุติธรรมทางสังคม
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
บทบาทด้านนิติบัญญัติ
การอนุมัติงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ เป็นขั้นตอนที่จะทำให้งบประมาณรายจ่ายประจำปีมีผลบังคับใช้ได้ตามกฎหมาย โดยหลังจากขั้นตอนการจัดทำงบประมาณเสร็จสิ้นแล้ว.
การบริหารราชการแผ่นดิน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
หลักธรรมาภิบาล ของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
สถาบันการเมืองการปกครอง
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
1 เบี้ยประชุมกรรมการ. 2 ยกเ ลิก 1. พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ. ศ พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมและ ค่าตอบแทนที่ปรึกษา ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง พ. ศ.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ปัญหายาเสพติดแนวชายแดน
(อนุสัญญากรุงนิวยอร์ค 1958)
การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนการผ่านพิธีการศุลกากรของเร่งด่วนขาเข้า ณ เขตปลอดอากร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ปัจจุบัน มีการนำเข้าสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรไทยผ่านทางผู้ให้บริการขนส่งสินค้าและพัศดุภัณฑ์
รัฐสมัยใหม่ ดินแดนและอำนาจอธิปไตย
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
รัฐสมัยใหม่ ดินแดนและอำนาจอธิปไตย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) อาจารย์สุมาลี มีจั่น วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

รูปแบบการปกครอง : การจัดองค์ประกอบขององค์กรหลักทางการเมือง โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ระบบรัฐสภา A ระบบที่พัฒนาการยาวนานที่สุดนับตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ประเทศอังกฤษเป็นต้นแบบ B นิยมแพร่หลายในประเทศประชาธิปไตยมากที่สุด การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

บทบาทของรัฐสภา ในฐานะสถาบันนิติบัญญัติ ออกกฎหมาย คุ้มครองรักษาสิทธิเสรีภาพ ควบคุมฝ่ายบริหาร การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) ประมุขของรัฐแยกออกจากตําแหน่งบริหาร ประมุขของรัฐไม่มีบทบาทหรืออํานาจในการบริหาร ทำหน้าที่เป็นประธานในพิธีการของรัฐ ลงนามเพื่อประกาศกฎหมายต่างๆ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) ตัวแทนของประชาชนทําหน้าที่นิติบัญญัติ รัฐสภาเป็นตัวแทนของประชาชน รัฐสภาเลือกรัฐบาลให้ทําหน้าที่บริหาร การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) รัฐบาลมาจากรัฐสภา นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีส่วนใหญ่ต้องมาจากสมาชิกรัฐสภา รับผิดชอบร่วมกัน (Collective Responsibility) ในการบริหารประเทศ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) การคงอยู่ของรัฐบาลขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของรัฐสภา รัฐสภาเป็นผู้ให้ความเห็นชอบนโยบาย รัฐสภามีอำนาจในการลงมติวางใจ/ไม่ไว้วางใจรัฐบาล การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ข้อดีของระบบรัฐสภา การปฏิบัติงานของรัฐบาลจึงมักดําเนินไปได้อย่างราบรื่น ป้องกันไม่ให้รัฐบาลใช้อํานาจเกินขอบเขต การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ข้อเสียของระบบรัฐสภา กรณีพรรคการเมืองไม่มีความเข้มแข็ง อาจเกิดการขัดแย้งในรัฐสภารัฐบาลอาจไม่มั่นคง การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบสถาบันนิติบัญญัติ Unicameral 1 Bicameral 2 การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ระบบสภาเดียว ระบบที่มีสมาชิกสภานิติบัญญัติประเภทเดียว มักอยู่ในรูปของ “สภานิติบัญญัติแห่งชาติ” การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดียว (Unicameral system) Albania Bangladesh Bulgaria Burkina Faso Croatia Denmark Dominica Estonia Finland Greece Hungary Iceland Israel Kurdistan Region Latvia Lithuania Luxembourg MaltaMoldova Mongolia Montenegro New Zealand Palestinian Authority Papua New Guinea Portugal Republic of Macedonia Saint Kitts and Nevis Saint Vincent and the Grenadines Samoa Serbia Singapore Slovakia Sri Lanka Sweden Turkey Ukraine Vanuatu การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ข้อดีของระบบสภาเดียว ดำเนินงานรวดเร็ว ไม่สิ้นเปลืองงบประมาณ ไม่ปรากฏการขัดแย้งระหว่างสองสภา ผู้แทนมีความภูมิใจ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ข้อเสียของระบบสภาเดียว การทำงานรวดเร็ว อาจเกิดข้อบกพร่อง ขาดการตรวจสอบ ถ่วงดุล การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ระบบสองสภา (Bicameral system) วุฒิสภา House of Lords Senate Upper House สภาผู้แทนราษฎร House of Common House of Representatives Lower House การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

ประเทศที่ใช้ระบบสองสภา (Bicameral system) Iraq Italy Jamaica Japan Malaysia The Netherlands Pakistan Poland Romania Saint Lucia Slovenia South Africa Spain Switzerland Thailand Trinidad and Tobago United Kingdom Australia Austria Antigua and Barbuda The Bahamas Barbados Belize Belgium Bhutan Canada Czech Republic Ethiopia European Union Germany Grenada India Ireland การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

เปรียบเทียบข้อดี - ข้อเสียของระบบสองสภา เปิดโอกาสให้มีตัวแทนจากกลุ่มอาชีพต่างๆ กฎหมายได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบ มีการถ่วงดุลอำนาจ การพิจารณาร่างกฎหมายไม่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว ใช้งบประมาณในการจ่ายค่าตอบแทนสมาชิกเป็นจำนวนมาก มีแนวโน้มที่สมาชิกจะมีความขัดแย้งกัน เปรียบเทียบข้อดี - ข้อเสียของระบบสองสภา การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ประเทศที่ใช้ระบบสองสภา ประเทศที่ไม่ใช้ระบบรัฐสภา ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดียว การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง