ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) อาจารย์สุมาลี มีจั่น วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
รูปแบบการปกครอง : การจัดองค์ประกอบขององค์กรหลักทางการเมือง โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ระบบรัฐสภา A ระบบที่พัฒนาการยาวนานที่สุดนับตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ประเทศอังกฤษเป็นต้นแบบ B นิยมแพร่หลายในประเทศประชาธิปไตยมากที่สุด การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
บทบาทของรัฐสภา ในฐานะสถาบันนิติบัญญัติ ออกกฎหมาย คุ้มครองรักษาสิทธิเสรีภาพ ควบคุมฝ่ายบริหาร การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) ประมุขของรัฐแยกออกจากตําแหน่งบริหาร ประมุขของรัฐไม่มีบทบาทหรืออํานาจในการบริหาร ทำหน้าที่เป็นประธานในพิธีการของรัฐ ลงนามเพื่อประกาศกฎหมายต่างๆ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) ตัวแทนของประชาชนทําหน้าที่นิติบัญญัติ รัฐสภาเป็นตัวแทนของประชาชน รัฐสภาเลือกรัฐบาลให้ทําหน้าที่บริหาร การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) รัฐบาลมาจากรัฐสภา นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีส่วนใหญ่ต้องมาจากสมาชิกรัฐสภา รับผิดชอบร่วมกัน (Collective Responsibility) ในการบริหารประเทศ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) การคงอยู่ของรัฐบาลขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของรัฐสภา รัฐสภาเป็นผู้ให้ความเห็นชอบนโยบาย รัฐสภามีอำนาจในการลงมติวางใจ/ไม่ไว้วางใจรัฐบาล การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ข้อดีของระบบรัฐสภา การปฏิบัติงานของรัฐบาลจึงมักดําเนินไปได้อย่างราบรื่น ป้องกันไม่ให้รัฐบาลใช้อํานาจเกินขอบเขต การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ข้อเสียของระบบรัฐสภา กรณีพรรคการเมืองไม่มีความเข้มแข็ง อาจเกิดการขัดแย้งในรัฐสภารัฐบาลอาจไม่มั่นคง การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบสถาบันนิติบัญญัติ Unicameral 1 Bicameral 2 การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ระบบสภาเดียว ระบบที่มีสมาชิกสภานิติบัญญัติประเภทเดียว มักอยู่ในรูปของ “สภานิติบัญญัติแห่งชาติ” การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดียว (Unicameral system) Albania Bangladesh Bulgaria Burkina Faso Croatia Denmark Dominica Estonia Finland Greece Hungary Iceland Israel Kurdistan Region Latvia Lithuania Luxembourg MaltaMoldova Mongolia Montenegro New Zealand Palestinian Authority Papua New Guinea Portugal Republic of Macedonia Saint Kitts and Nevis Saint Vincent and the Grenadines Samoa Serbia Singapore Slovakia Sri Lanka Sweden Turkey Ukraine Vanuatu การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ข้อดีของระบบสภาเดียว ดำเนินงานรวดเร็ว ไม่สิ้นเปลืองงบประมาณ ไม่ปรากฏการขัดแย้งระหว่างสองสภา ผู้แทนมีความภูมิใจ การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ข้อเสียของระบบสภาเดียว การทำงานรวดเร็ว อาจเกิดข้อบกพร่อง ขาดการตรวจสอบ ถ่วงดุล การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ระบบสองสภา (Bicameral system) วุฒิสภา House of Lords Senate Upper House สภาผู้แทนราษฎร House of Common House of Representatives Lower House การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
ประเทศที่ใช้ระบบสองสภา (Bicameral system) Iraq Italy Jamaica Japan Malaysia The Netherlands Pakistan Poland Romania Saint Lucia Slovenia South Africa Spain Switzerland Thailand Trinidad and Tobago United Kingdom Australia Austria Antigua and Barbuda The Bahamas Barbados Belize Belgium Bhutan Canada Czech Republic Ethiopia European Union Germany Grenada India Ireland การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
เปรียบเทียบข้อดี - ข้อเสียของระบบสองสภา เปิดโอกาสให้มีตัวแทนจากกลุ่มอาชีพต่างๆ กฎหมายได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบ มีการถ่วงดุลอำนาจ การพิจารณาร่างกฎหมายไม่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว ใช้งบประมาณในการจ่ายค่าตอบแทนสมาชิกเป็นจำนวนมาก มีแนวโน้มที่สมาชิกจะมีความขัดแย้งกัน เปรียบเทียบข้อดี - ข้อเสียของระบบสองสภา การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง
การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ประเทศที่ใช้ระบบสองสภา ประเทศที่ไม่ใช้ระบบรัฐสภา ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดียว การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง