หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
Advertisements

ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ของ ด.ช. กฤษฎา หลาบเจริญ ม.2/3 เลขที่15 ปีการศึกษา2548
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
สิ่งดีๆ ที่น่าอ่าน การที่คุณบอกความในใจกับใครคนนั้นไป มันอาจจะไม่ใช่สิ่งที่เลวร้าย เพราะบางทีใครคนนั้นอาจกำลังรอคำพูดของคุณอยู่ เรือที่จอดอยู่ในท่าจะปลอดภัยที่สุด.
การทำงานกับรูปภาพ.
นางศุจินันท์ ฉลาด โรงเรียนโชคชัยสามัคคี นครราชสีมา
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
ครูที่ปรึกษา อ. สุทิน ขำการ
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นาฏศิลป์ในท้องถิ่น
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
สวัสดี หนีห่าว กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนมัธยมศึกษาปีที 4 เวลา 2 ชั่วโมง
“ทฤษฎีและปฎิบัติ สร้างสรรค์และวิจัย การละครร่วมสมัย”
Scenario Creation กัญญา จุฑาสมิต
ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
กิจการนิสิต (Student Affairs)
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
" ประวัตินาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการละครฟ้อนรำและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ กำหนดว่า ต้องประกอบไปด้วยศิลปะ 3 ประการ คือ การฟ้อนรำ การดนตรี
ความรู้เบื้องต้น การออกแบบ Media.
สุนทรียศิลป์ (Aesthetics)
Proposal / Profile : ทำเพื่อเสนอต่อสถานีโทรทัศน์ ขอช่องทางออกอากาศ
ความหมาย ขอบเขต กำเนิดนาฏกรรม
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
คุณธรรมนำความรู้ รูปแบบการเรียนการสอน แบบบูรณาการ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
โรงเรียนตรอนตรีสินธุ์ อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
ชีวะ ม. ปลาย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
จัดทำโดย นางบุษยมาศ หีบเพชร
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การฟังเพลง.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
การแสดง. 1. โขนเป็นการแสดงแบบใด เนื้อหา ศิลปะการแสดงอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยที่มี ประวัติความเป็นมายาวนาน เป็นศิลปะการเต้นเป็น เรื่อง ผู้แสดงตามสวมหัวโขน.
องค์ประกอบของบทละคร.
รำวงมาตรฐาน.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ความหมายของการวิจารณ์
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ประเภทของการวิจารณ์.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
ทฤษฎีการเรียนรู้ กับการพัฒนานวัตกรรม
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์ ความหมายของสุนทรียศาสตร์ สุนทรียศาสตร์เป็นสาขาหนึ่งของคุณวิทยา เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องความงาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็คือ ความงามในศิลปะ และรวมไปถึงเรื่องรสนิยม และมาตรฐานทางคุณค่าสำหรับตัดสินศิลปะด้วย

วิชาที่ว่าด้วยเรื่องแห่งความงามหรือสิ่งที่สวยงาม ภาษาอังกฤษใช้คำว่า Aesthetics

หลักการชมการแสดงนาฏกรรม 1. ต้องรู้จักประเภทของการแสดงว่าเป็นประเภทใด ได้แก่ ระบำ รำ ฟ้อน การแสดงพื้นเมือง หรือเป็นการแสดง โขน ละคร เป็นต้น 2.ต้องรู้และเข้าใจวัตถุประสงค์ของการแสดงด้วย เพราะว่าการแสดงแต่ละครั้งจะมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน ถ้าเรารู้หรือเข้าใจวัตถุประสงค์ของการแสดงจะทำให้เข้าใจในสิ่งที่ได้ดูหรือชม

3. ศึกษาประวัติและประเภทของตัวละคร เพื่อให้รู้พื้นฐานของตัวละครว่าใครมี ความเป็นมาอย่างไร 4. ศึกษาความหมายของท่าทางจากภาษาท่าหรือท่าทางต่าง ๆ ที่ใช้ในการแสดงนาฏกรรม ซึ่งเกือบทุกท่ามีพื้นฐานมาจากท่าทางปกติของมนุษย์ 5. ผู้แสดงมีความสวยงาม เหมาะสมกับบทแสดงหรือบทเพลงต่าง ๆ 6. การขับร้อง บทเพลง และดนตรีประกอบการแสดง มีความไพเราะ การขับร้องสอดแทรกอารมณ์ต่าง ๆ ได้