บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Advertisements

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
Pascal Programming Language โปรแกรมภาษาปาสคาล
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
User Defined Simple Data Type
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
Structure Programming
Introduction to C Programming.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ภาษาปาสคาล บทนำ.
การแสดงผลและ รับข้อมูล. คำสั่ง Write เป็นคำสั่งที่นำข้อมูลที่ ต้องการแสดงผลที่ จอภาพเมื่อตอนสั่งรัน โปรแกรมไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวเลข การ.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Repetitive Statements (Looping)
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
การรับข้อมูล และ การแสดงผล
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
SCC : Suthida Chaichomchuen
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
ตัวอย่างคำสั่ง CASE.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
TURBO PASCAL OUTLINE 1. บทนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล
Lecture 4 เรคอร์ด.
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ.
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล OUTLINE คำสั่งรับข้อมูล read, readln อ่านโดยฟังก์ชัน readkey คำสั่งแสดงผลข้อมูล write, writeln การพิมพ์แบบกำหนดรูปแบบ writeln(n:m) คำสั่งพิมพ์ออกทางเครื่อง คำสั่งจัดหน้าจอ gotoxy, clrscr

คำสั่งแสดงผลข้อมูล คำสั่งแสดงผลข้อมูล write, writeln รูปแบบ เป็นคำสั่งที่ใช้พิมพ์ข้อความ หรือ ตัวแปร หรือ นิพจน์ รูปแบบ writeln (‘ข้อความ’) writln (ตัวแปร1,ตัวแปร2….)

คำสั่งแสดงผลข้อมูล คำสั่ง write เมื่อเขียนแล้วเคอร์เซอร์อยู่บรรทัดเดิม คำสั่ง writeln เมื่อเขียนแล้วเคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัดใหม่

การพิมพ์แบบกำหนดรูปแบบ การพิมพ์แบบกำหนดรูปแบบ ใช้คำสั่ง รูปแบบ writeln(ข้อมูล :จำนวนคอลัมน์) กรณี กำหนดคอลัมน์กว้างการพมิพ์จะเติมที่ละคอลัมน์จากขวาไปซ้ายที่เหลือเติม Blank กรณีเนื่อที่ไม่พอก็ยังพิมพ์ครบทุกตัว

การพิมพ์แบบกำหนดรูปแบบ หากตัวแปรเป็นแบบ Real และไม่กำหนดรูปแบบการพิมพ์ จะแสดงในรูปของทศนิยมยกกำลัง เช่น 6.89000000E+01 รูปแบบ writeln(real :a:b) a จำนวนคอลัมน์ที่ใช้ทั้งหมด b จำนวนเลขหลังจุดทศนิยม เลขจำนวนจิรงพิมพ์จากซ้ายไปขวา ถ้าระบุคอลัมน์กว้างพอ ถ้าไม่จะพิมพ์ชิดขวา

คำสั่งพิมพ์ออกทางเครื่อง รูปแบบ writeln(lst, ข้อความ) เนื่องจาก lst เป็นตัวแปรอยู่ในยูนิต printer จึงต้องประการUSES printer ที่ส่วนหัวของโปรแกรม หากมีการใช้หลายยูนิตให้ใช้ , คั่น Uses printer,wincrt;

คำสั่งจัดหน้าจอ คำสั่ง clrscr เป็นคำสั่งลบหน้าจอ พร้อมเลื่อนเคอร์เซอร์ไปอยู่มุมซ้ายของหน้าจอ คำสั่ง gotoxy (col,row) ทำหน้าที่เคอร์เซอร์ไปยังตำแหน่งที่ระบุบนหน้าจอ เช่น goto (20,4) คือไปที่คอลัมน์ 20 บรรทัดที่4 ต้องใช้ USES wincrt ที่ส่วนหัว

โปรแกรมคำสั่งจัดหน้าจอ PROGRAM write1; USES Wincrt; VAR a : integer; b : real; temp : string; begin a := 20; b := 12.5; temp := '///////////////////////////’; gotoxy (10,10); writeln(temp); write(a:3); writeln('**',b:15:2); writeln('a: ',a*b:5:1); gotoxy (10,15); readln; end.

คำสั่งรับข้อมูล คำสั่ง read และ readln เป็นการให้ค่าตัวแปรโดยการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หรือ อ่านจากหน่วยความจำสำรอง ประเภทข้อมูลที่อ่านเป็นได้ทุกประเภท ยกเว้นบูลีน คำสั่งจะรอให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลและ กด Enter จึงจะนำค่าไปเก็บไว้ในตัวแปร

คำสั่งรับข้อมูล รูปแบบ readln( ตัวแปร1, ตัวแปร2…) หรือ readln;

ตัวอย่างโปรแกรม writeln และ readln PROGRAM writeread; USES Wincrt; VAR age : integer; name : string[30]; begin write('Enter your name: '); readln(name); write('Enter your age:'); readln(age); writeln(name,' is ',age,' year old.'); readln; end.

ฟังก์ชัน Readkey Readkey เป็นฟังก์ชันอยู่ในยูนิต crt เมื่อจะใช้ต้องมี USES ใช้รับข้อมูลแบบ Char เท่านั้น เครื่องจะรอรับข้อมูล เมื่อได้แล้วไม่ต้องกด Enter รูปแบบ ตัวแปร := readkey

โปรแกรม readkey Program readkey1; uses wincrt; var ch: char; begin write('Press any key on keyboard:'); ch := readkey; writeln; writeln('You press character==> ',ch); readln; end.