การจัดการแฟ้มข้อมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Computer Language.
ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
การใช้งาน vi การเรียกโปรแกรม การทำงานของโปรแกรม vi ชื่อไฟล์
6. โครงสร้างข้อมูลแบบแฟ้ม
Structure Programming
Function.
การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File
Introduction to C Programming.
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Homework ให้เขียนโปรแกรม Text Editor อย่างง่ายที่ชื่อว่า "Simple Notepad" ที่มีการทํางานคล้ายคลึงกับโปรแกรม Notepad แต่มีความสามารถจํากัด ผู้ใช้สามารถใช้เมนูคําสั่งเพื่อทําการ.
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
การสร้าง Shortcut คลิกขวาที่ Fileหรือ Folder หรือสิ่งที่จะสร้างเป็น Shortcut เลือกคำสั่ง.
ASP [# 9] การติดต่อข้อมูล Text Files
Lecture no. 10 Files System
การทำงานกับ Taskbar การย้าย การตั้งวันที่ และเวลา.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
Unix: basic command.
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ทำงานกับ File และStream
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
HTML, PHP.
Chapter 3 Set a Server by Linux.
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
ระบบปฏิบัติการ Windows
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
บทที่ 3 Windows OUTLINE คำสั่งเกี่ยวกับไฟล์และโฟลเดอร์
ฟังก์ชัน.
การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File
บทที่ 10 สตริง.
Output of C.
โครงสร้างข้อมูลแบบรายการโยง (Link List)
“Disk Operating System”
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การจัดการกับความผิดปกติ
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
File & Directory Management การจัดการไฟล์และไดเรคทอรี
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการแฟ้มข้อมูล

ไฟล์แบบตัวอักษรหรือ Text File เป็นไฟล์ที่มีแต่ตัวอักษร เปิดอ่านด้วย notepad ได้รู้เรื่อง โดยการดูนามสกุลของไฟล์ หรืออาจดูจากไอคอน คือ

ชนิดของแฟ้มข้อมูล ตัวอย่างนามสกุลของ ชนิดของแฟ้มข้อมูลText File มีดังนี้ .txt ไฟล์ข้อความ .bak ไฟล์สำรอง .log ไฟล์ Log .ini ไฟล์เก็บค่า profile .c ไฟล์ซอร์สโค้ดโปรแกรมภาษา C .php ไฟล์ซอร์สโค้ดโปรแกรมภาษา PHP นอกจากนี้ยังรวมไปถึงซอร์สโค้ดของโปรแกรมภาษาต่างๆ ซึ่งจะเก็บอยู่ในรูป Text File ทั้งหมด โดยระบุนามสกุลเป็นภาษานั้นๆ

ชนิดของแฟ้มข้อมูล ตัวอย่างไฟล์ที่เก็บข้อมูลแบบไบนารี่ โดยจะเก็บข้อมูลเป็บไบต์ เช่น ไฟล์รูปภาพ เช่น bmp,jpg,gif ไฟล์เอกสาร ของโปรแกรมต่างๆ .doc , .xls , .ppt , .rdw ไฟล์หนังและไฟล์เพลง เช่น .wav , .mp3 , .wma , .wmv ไฟล์โปรแกรม เช่น .exe , .dll

ชนิดของแฟ้มข้อมูล ตัวอย่างการเปิดไฟล์แบบ Binary ด้วย notepad

การเปิดแฟ้มข้อมูล ในการประมวลผลร่วมกับแฟ้มข้อมูลนั้น การดำเนินการแรกที่จะต้องทำก่อนงานอื่นๆ คือการเปิดไฟล์เพื่อเลือกไฟล์ที่จะประมวลผล และสร้างตัวชี้ตำแหน่งไฟล์ขึ้น ซึ่งในการเปิดไฟล์จะต้องใช้ 2 คำสั่ง คำสั่งแรก เป็นการสร้างตัวพอยเตอร์ชนิด file เพื่อใช้เป็นตัวชี้ตำแหน่งไฟล์ คำสั่งที่สอง คือ คำสั่งเปิดไฟล์และกำหนดตัวชี้ตำแหน่งไฟล์ให้กับตัวแปรพอยเตอร์

การเปิดแฟ้มข้อมูล ในการเขียนคำสั่งเพื่อเปิดไฟล์ จะต้องระบุโหมดของไฟล์ด้วย เพื่อให้ตัวแปลภาษา C เข้าใจว่าเราต้องการเปิดไฟล์เพื่อทำงานใด โดยโหมดของไฟล์แสดงดังตารางต่อไปนี้ โหมดการเปิดไฟล์ ความหมาย r เปิดไฟล์เพื่ออ่านข้อมูลอย่างเดียว w เปิดไฟล์เพื่อเขียนข้อมูลทับลงไปทับข้อมูลเก่าในไฟล์ โดยข้อมูลเก่าจะถูกลบทิ้ง a เปิดไฟล์สำหรับเขียนข้อมูลต่อท้ายข้อมูลเดิมในไฟล์ r+ เปิดไฟล์สำหรับอ่านและเขียนข้อมูลลงไปในไฟล์ w+ เปิดไฟล์สำหรับอ่านและเขียนข้อมูลใหม่ทับข้อมูลเดิม a+ เปิดไฟล์สำหรับอ่านและเขียนข้อมูลใหม่ต่อท้ายข้อมูลเดิม

การเปิดแฟ้มข้อมูล การเปิดไฟล์ในโหมด r ไฟล์ที่จะเปิดต้องมีอยู่จริงจึงจะเปิดได้ ส่วนโหมดอื่นๆ ถ้าไฟล์ที่ระบุชื่อยังไม่มีอยู่ ระบบจะสร้างไฟล์ใหม่ขึ้นมา การเขียนคำสั่งเพื่อเปิดไฟล์ ถ้าเปิดไฟล์ไม่สำเร็จไม่มีปัญหา หรือข้อผิดพลาดใดๆ สิ่งจะได้กลับมาคือ ตำแหน่งตัวชี้ไฟล์ แต่หากไม่สามารถเปิดไฟล์ขึ้นมาได้ ค่าที่ได้กลับมาคือ NULL

การเปิดแฟ้มข้อมูล FILE *fp; - สร้างตัวแปรพอยเตอร์ชนิด file ชื่อ fp fp=fopen(“d:/exercise/text.txt”, “r”); fp=fopen(“c:/temp.dat”, “w”); fp=fopen(“ex_10.exe”, “a+”); fp=fopen(“c:/documents/news.txt”, “w+”); - สร้างตัวแปรพอยเตอร์ชนิด file ชื่อ fp - เปิดไฟล์ชื่อ text.txt ในไดร์ฟ D โฟลเดอร์ exercise เพื่ออ่านข้อมูลจากไฟล์

ฟังก์ชันในการจัดการไฟล์ในภาษา C ฟังก์ชันเปิดและปิดไฟล์ fopen ใช้ในการเปิดไฟล์ fclose ใช้ในการปิดไฟล์ ฟังก์ชันที่ใช้ในการอ่านข้อมูลจากไฟล์ fgetc อ่านข้อมูลทีละตัวอักษร fgets อ่านข้อมูลมาเป็นข้อความ fscanf อ่านข้อมูลเป็นข้อความเหมือนกับ scanf fread อ่านข้อมูลแบบไบต์

ฟังก์ชันในการจัดการไฟล์ในภาษา C ฟังก์ชันที่ใช้ในการเขียนข้อมูลลงไฟล์ fputc เขียนข้อมูลทีละตัวอักษร fputs เขียนข้อมูลแบบข้อความ fprintf เขียนข้อมูลเป็นข้อความเหมือนกับ printf fwrite เขียนข้อมูลเป็นไบต์ ฟังก์ชันช่วยในการจัดการไฟล์ feof ใช้ตรวจสอบการสิ้นสุดไฟล์ ftell ใช้ตรวจสอบการอ่านตำแหน่งของไฟล์ fseek ใช้ในการเลื่อนไปยังตำแหน่งที่ต้องการภายในไฟล์

ตัวอย่างโปรแกรมการเปิดไฟล์ #include<stdio.h> void main() { FILE *fp; char ch; fp=fopen("chanida/hello.txt","r"); if(fp==NULL) printf("Cannot open file"); } do ch=getc(fp); printf("%c",ch); while (ch!=EOF); fclose(fp);

การเปิดไฟล์ การตรวจสอบจุดสิ้นสุดของไฟล์สามารถทำได้ 2 วิธี โดยถ้าเป็นไบนารีไฟล์ จะต้องเรียกใช้ฟังก์ชัน feof() เพื่อตรวจสอบจุดสิ้นสุดของไฟล์ แต่ถ้าเป็น Text File เมื่ออ่านข้อมูลจนจบแล้วจะได้ค่า EOF (End Of File)ออกมา หรือจะเรียกใช้ฟังก์ชัน feof() ก็ได้เช่นเดียวกัน

การลบไฟล์ สำหรับไฟล์ที่ไม่จำเป็นต้องใช้งานแล้ว สามารถลบไฟล์ดังกล่าวเพื่อประหยัดพื้นที่ในฮาร์ดดิสได้ โดยใช้คำสั่ง remove() ซึ่งมีรูปแบบการเรียกใช้ดังนี้ remove(“ชื่อไฟล์”); ตัวอย่าง เช่น remove(“c:/data.txt”);

การเปลี่ยนชื่อไฟล์ การเปลี่ยนชื่อไฟล์หรือย้ายตำแหน่งไฟล์สามารถทำได้ โดยเรียกใช้คำสั่ง rename() เพื่อเปลี่ยนชื่อหรือเปลี่ยนที่เก็บใหม่ตามต้องการ โดยมีรูปแบบการเรียกใช้คำสั่งดังนี้ rename(“ชื่อไฟล์เดิม”, “ชื่อไฟล์ใหม่หรือตำแหน่งใหม่”); ตัวอย่าง เช่น rename(“menu.dat”, “content.dat”); rename(“c:/doc/data.txt”, “d:/lab/test.txt”);

แบบฝึกหัด เขียนโปรแกรมการทำงานกับ Text File ดังนี้ รับข้อมูล ชื่อและที่อยู่ ของนักศึกษา โดยจัดเก็บไว้ในไฟล์ข้อมูลชื่อ old.txt อ่านข้อมูลชื่อและที่อยู่ ของนักศึกษา จากไฟล์ old.txt มาแสดงหน้าจอ คัดลอกข้อมูลชื่อและที่อยู่ของนักศึกษา ไปไว้ในไฟล์ใหม่ และให้ย้ายไปไว้ที่ d:/lab/new.txt