ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
Advertisements

ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
การคลังและนโยบาย การคลัง
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
สถานการณ์การเงินการคลัง
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การบริโภค การออม และการลงทุน
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
งบลงทุน Capital Budgeting
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
LOGO บัญชีรายได้ประชาชาติและองค์ประกอบค่าใช้จ่าย.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
การรวมธุรกิจ.
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ

Classical Theory and The Keynesian Revolution

Classical Theory Classical Economist : Adam Smith ก่อน ค.ศ 1930 นักเศรษฐศาสตร์สนใจวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจในเชิงจุลภาคเป็นหลัก โดยเฉพาะทฤษฎีการกำหนดราคาและปริมาณสินค้าเฉพาะอย่าง (individual products) เพราะเชื่อว่า “เศรษฐกิจอาจมีการว่างงานได้ชั่วคราว แต่ในที่สุดเศรษฐกิจก็จะกลับสู่ภาวะมีการจ้างงานเต็มที่ได้เองในที่สุด” Say’s Law “Supply creates its own Demand”

Keynesian School of Economics Keynesian Economics : John Maynard Keynes -ในช่วงปี ค.ศ. 1930 เกิดปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำครั้งรุนแรงที่สุด - เศรษฐกิจไม่สามารถปรับตัวได้เองตามที่เชื่อกันในสมัยนั้น - เคนส์ได้เขียนตำรา ชื่อ “ The General Theory of Employment, Interest and Money ” และได้เสนอแนวคิดว่า “อัตราการว่างงานและผลผลิตของชาติอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงได้เสมอตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งนี้ก็เพราะระดับรายได้ประชาชาติกับระดับการจ้างงานนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด”

จึงได้เสนอทฤษฎีเศรษฐศสาตร์ใหม่ สรุปได้ว่า “ภาวการณ์ว่างงานเป็นปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา และไม่อาจปรับตัวเข้าหาดุลยภาพได้ด้วยตัวเอง” J.M. Keynes “Demand creates its own Supply” เคนส์จึงได้สร้าง “ทฤษฎีการกำหนดรายได้ประชาชาติ” ขึ้นทฤษฎีนี้อธิบายได้ว่า “ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม จะเป็นตัวกำหนดรายได้ประชาชาติ”

AD / DAE < , > , = AS / NI Desired Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M) หรือ Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) (AD) ทั้งนี้ ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม ไม่จำเป็นจะต้องเท่ากับรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงในระบบเศรษฐกิจ AD / DAE < , > , = AS / NI

องค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE) 1. รายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) และการออม (S) 2. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (I) 3. รายจ่ายของภาครัฐบาล (G) 4. การส่งออกสุทฺธิ (X-M)

รายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออม Consumption Expenditure [C] and Saving [S]

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม รายได้สุทธิส่วนบุคคลหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (Disposable Income) รายได้ C S รายได้ C S

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม ขนาดของสินทรัพย์สภาพคล่อง สินทรัพย์สภาพคล่อง คือ สิ่งที่เราถือว่าเป็นเงิน (Money) ได้แก่ เงินสด เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากประจำ พันธบัตร ทองคำ หุ้น และที่ดิน ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้รวดเร็วและ ไม่เสียค่าใช้จ่ายมากนัก

> C ก C ข นาย ก. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน นาย ข. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีเงินฝากประจำ 1,000,000 บาท มีที่ดินมูลค่า 1,000,000 บาท C ก C ข >

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 3. สินค้าคงทนที่ผู้บริโภคมีอยู่ สินค้าคงทน C S S สินค้าคงทน C

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม การคาดการณ์ของผู้บริโภค ได้แก่ รายได้ในอนาคต รายได้ในอนาคต C S รายได้ในอนาคต S C

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 4. การคาดการณ์ของผู้บริโภค ได้แก่ ราคาสินค้าในอนาคต ราคาในอนาคต S C ราคาในอนาคต S C

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย (เงินดาวน์และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้) เงินดาวน์ /ดอกเบี้ยเงินกู้ C S เงินดาวน์ /ดอกเบี้ยเงินกู้ C S

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 5. อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยเงินฝาก C S ดอกเบี้ยเงินฝาก S C

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 6. ค่านิยมทางสังคม ค่านิยมฟุ่มเฟือย C S ค่านิยมประหยัด S C

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 7. อัตราการเพิ่มของประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร อัตราประชากร C S อัตราประชากร S C

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 7. อัตราการเพิ่มของประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร ประชากรในวัยทำงาน C S ประชากรในวัยทำงาน S C

ฟังก์ชั่นการบริโภคของบุคคล C = f ( Yd, A1, A2, A3, …ฯลฯ ) C คือ รายจ่ายเพื่อการบริโภค Yd คือ รายได้สุทธิ หรือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI) A1, A2, A3,…ฯลฯ คือ ปัจจัยอื่นๆ เมื่อ

ฟังก์ชั่นการบริโภคในระยะสั้นของบุคคล Consumption Function จาก C = f ( Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ ) ในระยะสั้น Consumption Function คือ C = f (Yd )

ระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคลและระดับการใช้จ่ายบริโภค ระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคล (บาท) ระดับการใช้จ่ายบริโภค (บาท) 1.000 750 2,000 1,500 3,000 2,250 4,000

สมการการบริโภคของบุคคล C = a + b Yd โดยที่ a คือ การบริโภคเมื่อรายได้เป็นศูนย์ b คือ ค่าความชันของการบริโภค Yd คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้

การบริโภค (C) C = a + b Yd a รายได้ (Yd)

ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค (Average Propensity to Consume : APC) อัตราส่วนของค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคต่อรายได้ ค่าที่แสดงว่ารายจ่ายในการบริโภคคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ C Yd APC =

พฤติกรรมการใช้จ่ายของบุคคล มี 3 แบบ บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคเกินกว่า รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น (C > Yd) 2. บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคเท่ากับ รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น (C = Yd) 3. บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคน้อยกว่า รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น (C < Yd)

C = a + bYd C C B A Yd Y1 Y2 Y3 C3 = 475 C2 = 400 a C1= 325 y1=300 y1=300 Y1 Y2 Y3 y2 = 400 y3 = 500

APC A APC B C = Yd ; APC = 1 APC c C  Yd ; APC  1 C  Yd ; APC  1 = 1.08 C  Yd ; APC  1 APC B C = 400 Y 400 C = Yd ; APC = 1 = 1.00 APC c C  Yd ; APC  1 C = 475 Y 500 = 0.95

C  Yd ; APC  1 C = Yd ; APC = 1 C  Yd ; APC  1 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เมื่อรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ค่า APC จะมี ค่าลดลงเรื่อย ๆ ด้วย

ความโน้มเอียงส่วนเพิ่มในการบริโภค (Marginal Propensity to Consume : MPC) อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายในการบริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ C Yd C2 - C1 Yd2 - Yd1 MPC = =

เมื่อ Yd เพิ่มขึ้น C จะเพิ่มขึ้น แต่ C จะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า Yd ที่เพิ่มขึ้น MPC > 0 MPC < 1 จากทฤษฎีของ Keynes กล่าวไว้ว่า เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1

C = a + bYd C C B A a Yd Y1 Y2 Y3 C3 = 475 C2 = 400 C1= 325 y1=300 y1=300 Y1 Y2 Y3 y2 = 400 y3 = 500

MPC (A - B) เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1 C = C2 – C1 = 400 - 325 Y Yd1 – Yd2 400 - 300 = 75 100 = 0.75 เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1

ฟังก์ชั่นการออมของบุคคล S = f ( Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ ) S คือ การออม Yd คือ รายได้สุทธิ หรือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI) A1, A2, A3,..ฯลฯ คือ ปัจจัยอื่นๆ เมื่อ

ฟังก์ชั่นการออมในระยะสั้นของบุคคล Saving Function จาก s = f ( Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ ) ในระยะสั้น Saving Function คือ S = f (Yd )

จาก Yd = C + S ฟังก์ชันการออม S = f (Yd ) ดังนั้น เงินออม คือ รายได้สุทธิส่วนที่เหลือจากการใช้จ่าย ก็จะได้ S = Yd – C และจากสมการการบริโภค C = a + bYd แทนค่าสมการ S = Yd – a – bYd ดังนั้นจะได้สมการการออม คือ S = – a + (1-b) Yd

สมการการออมของบุคคล S = -a+ (1-b) Yd โดยที่ Yd คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI)

การออม (S) S = -a + (1-b)Yd saving รายได้ (Yd) Dissaving -a

ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม (Average Propensity to Save : APS) อัตราส่วนของการออมต่อรายได้ ค่าที่แสดงว่าการออมคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ S Yd APS =

การออม (S) S = -a + (1-b)Yd รายได้ (Yd) C B A s3 = 25 Y1=300 Y2=400 Y1=300 Y2=400 Y3=500 s1 = -25 s2 = 0 -a

APS A APS B S = 0 ; APS = 0 APS c S = -25 Yd 300 = - 0.08 = - 0.08 S  0 ; APS  0 หรือมีค่าติดลบ APS B S = 0 Yd 400 S = 0 ; APS = 0 หรือมีค่าเท่ากับ 0 = 0 APS c S  0 ; APS  0 หรือมีค่าเป็นบวก S = 25 Yd 500 = 0.05

S  0 ; APS  0 หรือมีค่าติดลบ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เมื่อรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ค่า APS จะมี ค่าเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เช่นเดียวกัน

ความโน้มเอียงในการออมหน่วยสุดท้าย (Marginal Propensity to Save : MPS) อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของการออมต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ S Yd S2 - S1 Yd2 - Yd1 MPS = =

เมื่อ Yd เพิ่มขึ้น S จะเพิ่มขึ้น แต่ S จะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า Yd ที่เพิ่มขึ้น MPS > 0 MPS < 1 ตามหลักของ Keynes ที่กล่าวว่า เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1

การออม (S) S = -a + (1-b)Yd รายได้ (Yd) C B A s3 = 25 Y1=300 Y2=400 Y1=300 Y2=400 Y3=500 s1 = -25 s1 = 0 -a

MPS (A – B) เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1 S = C2 – C1 = 0 – (-25) Yd Yd1 – Yd2 400 - 300 = 25 100 = 0.25 เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1

ความสัมพันธ์ระหว่าง APC และ APS Yd = 500  APC = 0.95 , APS = 0.05 ณ รายได้ 500 บาท โดยเฉลี่ยแล้ว เงิน 1 บาท จะนำไปบริโภค 0.95 บาท และนำไปออม 0.05 บาท Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd 1 = APC + APS

Yd = C + S ความสัมพันธ์ระหว่าง MPC และ MPS MPC = 0.75 , MPS = 0.25 ถ้ามีรายได้เพิ่มขึ้น 1 บาท จะใช้จ่ายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น 0.75 บาท และนำไปออมเพิ่มขึ้น 0.25 บาท Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd = C + S Yd 1 = MPC ดังนั้น = C + S + MPS

C = Yd Yd C , S C = a + bYd S = -a + (1-b)Yd -a C < Yd ; APC <1 S > 0 ; APS > 0 45 S = 0 ; APS = 0 Yd S < 0 ; APS < 0 -a

การเปลี่ยนแปลงการบริโภค (C) และการออม (S) การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการบริโภคและเส้นการออม (move along the curve) การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการบริโภคและการออม หรือการเคลื่อนขึ้นหรือเคลื่อนลงของเส้นการบริโภคและการออมทั้งเส้น (change in or shift in consumption and saving function)

1. การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการบริโภคและการออม เกิดขึ้นเมื่อกำหนดให้ปัจจัยอื่น ๆ ที่กำหนดการบริโภคและการออมคงที่ โดยให้มีเพียงการเปลี่ยนแปลงในรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงเท่านั้น เมื่อรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงเปลี่ยนก็จะมีผลทำให้ระดับการบริโภคและการออมเปลี่ยนแปลงเช่นกัน โดยการเปลี่ยนแปลงจะเลื่อนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งบนเส้นการบริโภคและการออมเส้นเดิม

C , S C C2 C1 C3 S S2 S1 S3 Yd Yd3 Yd1 Yd2

2. การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการบริโภคและการออม เกิดขึ้นเมื่อให้ปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็นตัวกำหนดการบริโภคและการออมเปลี่ยนแปลง แต่รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงไม่มีการเปลี่ยนแปลง เมื่อปัจจัยอื่น ๆ เปลี่ยน โดยที่รายได้คงที่ ก็จะส่งผลทำให้เส้นการบริโภคและเส้นการออม เคลื่อนขึ้นทั้งเส้น หรือเคลื่อนลงทั้งเส้นในทางตรงกันข้าม กล่าวคือ ถ้าเส้นการบริโภคเคลื่อนขึ้นไป เส้นการออมจะต้องเคลื่อนลงมาทั้งเส้น แต่ถ้าเส้นการบริโภคเคลื่อนลงมา เส้นการออมก็จะเคลื่อนขึ้นไปทั้งเส้น นอกจากนี้การเคลื่อนขึ้นลงของเส้นทั้ง 2 จะต้องมีช่วงห่างจากเส้นเดิมในจำนวนทีเท่า ๆ กันด้วย

C2 C , S C1 C3 S3 S1 S2 Yd Yd1

การบริโภคมวลรวม (Aggregata Comsumption) และ การออมมวลรวม (Aggregata Saving)

ฟังก์ชันการบริโภคและการออมมวลรวมในระยะสั้น การหาการใช้จ่ายในการบริโภคของระบบเศรษฐกิจ ณ ระดับรายได้ต่าง ๆ สามารถหาได้โดยการรวมค่าใช้จ่ายในการบริโภคของบุคคลต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ ณ ระดับรายได้นั้นเข้าด้วยกัน ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการบริโภคและการออมของระบบเศรษฐกิจจะเป็นปัจจัยตัวเดียวกันกับปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการบริโภคและการออมของบุคคล ฟังก์ชันการบริโภคและการออมของระบบเศรษฐกิจจะมีคุณสมบัติต่าง ๆ เช่นเดียวกันกับฟังก์ชันการบริโภคและการออมของบุคคล

สมการ ตาราง เส้นการบริโภคและการออมมวลรวม สมการ ตาราง เส้นการบริโภคและการออมมวลรวม เส้น 45 องศา เป็นเส้นที่แบ่งครึ่งระหว่างแกนรายจ่ายเพื่อการบริโภคกับแกนรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง เส้น 45 องศา เป็นเส้นที่แสดงถึงภาวะการณ์ที่รายจ่ายเพื่อการบริโภคมีค่าเท่ากับรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง ทุก ๆ จุดบนเส้น 45 องศา จะแสดงถึงระดับรายได้ดุลยภาพ ใช้เป็นเส้นที่สำคัญยิ่งในการวิเคราะห์ระดับรายได้ดุลยภาพ ดังนั้นจึงเขียนเป็นสมการและรูปกราฟได้ดังนี้

รายจ่ายเพื่อการบริโภคมวลรวม (C) C = Yd 45 รายได้ประชาชาติ (Yd)

สมการการบริโภคและการออมมวลรวม สมการการบริโภคมวลรวม C = Ca + bYd สมการการออม มวลรวม S = -Sa + (1-b)Yd โดยที่ Ca คือ การบริโภคเมื่อรายได้เป็นศูนย์ Sa คือ การออมเมื่อรายได้เป็นศูนย์ ซึ่งเท่ากับ - Ca b คือ MPC = C Yd

0.25 - 0.75 0.12 0.11 0.08 0.05 -0.08 -0.25 -0.75 0.88 0.89 0.92 0.95 1.00 1.08 1.25 1.75 100 75 50 25 -25 -50 -75 -100 700 800 625 550 600 475 500 400 325 300 250 200 175 MPS MPC APS APC S C Yd

ระดับรายได้เสมอตัว (Break even) C Yd C, S 100 -100 200 400 600 800 300 500 700 S C = Yd ระดับรายได้เสมอตัว (Break even)

720 800 640 700 560 600 480 500 400 320 300 240 200 160 100 80 MPS MPC APS APC S C Yd

0.20 - 0.80 0.10 0.09 0.07 0.04 -0.06 -0.20 -0.60 0.90 0.91 0.93 0.96 1.00 1.06 1.20 1.60 80 60 40 20 -20 -40 -60 -80 720 800 640 700 560 600 480 500 400 320 300 240 200 160 100 MPS MPC APS APC S C Yd

การบริโภค (C) C = 80 + 0.80Yd 80 รายได้ (Yd)

การออม (S) S = -80 + 0.20Yd รายได้ (Yd) -80

จงหาสมการการออมจากสมการการบริโภคต่อไปนี้ 1) C = 300 + 0.75 Yd 1) S = -300 + 0.25 Yd 2) C = 120 + 0.80 Yd 2) S = -120 + 0.20 Yd 3) C = 100 + 0.90 Yd 3) S = -100 + 0.10 Yd 4) C = 80 + 0.65 Yd 4) S = -80 + 0.12 Yd

จงหาสมการการบริโภคจากสมการการออมต่อไปนี้ 1) S = -80 + 0.12 Yd 1) C = 80 + 0.88 Yd 2) S = -190 + 0.37 Yd 2) C = 190 + 0.63 Yd 3) S = -250 + 0.30 Yd 3) C = 250 + 0.70 Yd 4) S = -100 + 0.15 Yd 4) C = 100 + 0.85 Yd

จงหา BREAK- EVEN จากสมการการบริโภคที่กำหนดให้ 1) C = 100 + 0.80 Yd 500 1,000 2) C = 600 + 0.40 Yd 3) C = 1200 + 0.60 Yd 3,000

จงหา BREAK -EVEN จากสมการการออมที่กำหนดให้ 1) S = -120 + 0.12 Yd 1,000 1,250 2) S = -250 + 0.20 Yd 3) S = -1000 + 0.40 Yd 2,500

จงวาดรูปกราฟสมการการบริโภคและการออมลงบนพื้นที่แกนเดียวกัน ถ้ากำหนดสมการมาให้ดังนี้ 1) S = -660 + 0.15 Yd 2) S = -720 + 0.24 Yd 3) C =1400 + 0.70 Yd

C , S C = Yd C = 660 + 0.85Yd S = -660 + 0.15Yd 660 45 Yd -660

C , S C = Yd C = 720 + 0.76Yd S = -720 + 0.24Yd 720 45 Yd -720

C , S C = Yd C = 1400 + 0.7Yd S = -1400 + 0.3Yd 1400 45 Yd -1400

รายจ่ายเพื่อการลงทุน Investment Expenditure [I]

การลงทุน (Investment : I) ค่าใช้จ่ายในการผลิตสินค้าทุน (Capital goods) การใช้จ่ายโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ คือ ทำให้ การผลิตสินค้าและบริการในอนาคตเพิ่มขึ้น

การซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ การซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไร การซื้อสินทรัพย์และหลักทรัพย์มือสอง ไม่ถือเป็นการลงทุน แต่เป็นการลงทุนทาง การเงิน (Financial Investment)

ปัจจัยกำหนดการลงทุน ระดับรายได้ประชาชาติและการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ อัตราดอกเบี้ย กำไรที่คาดว่าจะได้รับ ความจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นโยบายของรัฐบาลและเสถียรภาพทางการเมือง

ฟังก์ชั่นการลงทุน เมื่อ I = f ( Y, A1, A2, A3, … )

ประเภทของการลงทุน การลงทุนโดยอิสระ (Autonomous investment) การลงทุนโดยจูงใจ (Induced investment)

เส้นการลงทุนโดยอิสระ I Y Ia

เส้นการลงทุนโดยจูงใจ I Y I = iY

สมการการลงทุนมวลรวม (I) I = Ia + Ii หรือ I = Ia + iY I = การลงทุนมวลรวม Ia = การลงทุนแบบอิสระ Ii = การลงทุนแบบชักจูง i = ความโน้มเอียงในการลงทุนหน่วยสุดท้าย ( MPI = I ) Y

เส้นการลงทุนมวลรวม I I = Ia + Ii หรือ I = Ia + iY Ii Ia Ia Y

การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการลงทุนมวลรวม I I = Ia + iY B I2 A I1 c I3 Ia Y Y3 Y1 Y2

การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการลงทุนมวลรวม I I2 I1 I3 Y Y1

Y Ia Ii I = Ia + Ii API MPI 300 30 60 310 62 320 64 330 66

Y Ia Ii I = Ia + Ii API MPI 300 30 60 90 90/300 = 0.30 - 310 62 92 92/310= 0.297 0.2 320 64 94 94/320 = 0.294 330 66 96 96/330 = 0.291

จากตาราง จะเขียนสมการการลงทุนมวลรวมได้ว่าอย่างไร จากสมการการลงทุนมวลรวม I = Ia + Ii หรือ I = Ia + iY จะได้ I = 30 + 0.2Y

ถ้าระดับรายได้ประชาชาติ (Y) เท่ากับ 400 การลงทุนมวลรวม (I) จะมีค่าเท่ากับเท่าไหร่ จากสมการการลงทุนมวลรวม I = 30 + 0.2Y แทนค่า Y = 400 ในสมการ จะได้ I = 30 + 0.2(400) I = 110

Government Expenditure [G] รายจ่ายของรัฐบาล Government Expenditure [G]

ปัจจัยกำหนดการใช้จ่ายของรัฐบาล รายรับของรัฐบาล ได้แก่ รายได้จากภาษีอากรรายได้ที่มิใช่ภาษีอากรและเงินกู้ นโยบายการคลังของรัฐบาล แบ่งเป็น 2 แบบ คือ นโยบายการคลังแบบขยายตัว และ นโยบายการคลังแบบหดตัว

เส้นการใช้จ่ายของรัฐบาลและการเปลี่ยนแปลงของเส้นการใช้จ่ายรัฐบาล G Y G2 G1 G3

การส่งออกและการนำเข้า Export-Import [X-M]

ปัจจัยกำหนดความต้องการส่งออก นโยบายส่งเสริมการส่งออกของรัฐบาล เช่น การลดภาษีส่งออก การขยายตลาดในต่างประเทศ การลด/ยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบ เป็นต้น ราคาสินค้าออก จะส่งสินค้าออกได้มากถ้าราคาสินค้าส่งออกของประเทศต่ำกว่าตลาดต่างประเทศ ความต้องการของตลาดต่างประเทศ หากภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า/โลกอยู่ในเกณฑ์ดี ก็จะส่งออกได้มาก

เส้นความต้องการส่งออกและการเปลี่ยนแปลงของเส้นการส่งออก X Y X2 X1 X3

ปัจจัยกำหนดความต้องการนำเข้า รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง อุปนิสัยในการใช้จ่ายของผู้บริโภค สินเชื่อเพื่อการบริโภค/เพื่อการสั่งเข้า และอัตราดอกเบี้ย การคาดการณ์ของผู้บริโภค ค่านิยมของการใช้สินค้านอก ปัจจัยอื่นๆ

สมการและเส้นความต้องการสั่งเข้า M Y M = Ma + mY Ma

การเปลี่ยนแปลงมูลค่าการสั่งเข้า M M = Ma + mY B M2 A M1 C M3 Ma Y Y3 Y1 Y2

การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า M M2 M2 M1 M1 M3 M3 Y Y1

การส่งออกสุทธิ M,X M = Ma + mY Xa = 0 Xa < 0 X = Xa Xa > 0 Y Y

สรุป ในบทที่ 3 ที่เราศึกษามาแล้วนั้น เราสามารถสรุปได้ว่า สรุป ในบทที่ 3 ที่เราศึกษามาแล้วนั้น เราสามารถสรุปได้ว่า “ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเป็นตัวแปรที่กำหนดรายได้ประชาชาติ” นั่นคือ DAE = C + I + G + (X-M) *** และถ้าองค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเปลี่ยนแปลงก็จะส่งผลทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งจะได้ไปเรียนต่อในบทที่ 4 เรื่องการกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ

โดยที่ C = Ca + bYd ; S = -Ca + (1-b)Yd I = Ia + iYd G = Ga X = Xa M = Ma + mYd

YE ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE) DAE = Y รายได้ประชาชาติ (Y) E DAE E DAE = C + I + G + (X-M) E DAE E 45 รายได้ประชาชาติ (Y) YE