Advanced VB (VB ขั้นสูง)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
การใช้ MessageBox-InputBox
VBScript.
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
ตัวอย่างโปรแกรม สร้างแถบเครื่องมืออย่างง่าย ประกอบด้วย
เฉลย Lab 10 Loop.
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
LAB # 5.
Location object Form object
Visual Basic.
การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
แบบทดสอบ 1. สแตก (stack) หมายถึงอะไร
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Adv. Access.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
อาเรย์ (Array).
Arrays.
กล่องข่าวสาร (Message Box)
C Programming Lecture no. 6: Function.
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
การประยุกต์ VB บทที่ 5.
Visual Basic บทที่ 1.
Looping การวนรอบ บทที่ 4.
Critical-Section Problem
โปรแกรม Microsoft Access
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
Chapter 4 การสร้าง Application
LOGO SCCS031 Principle of Computer Programming Thinaphan Nithiyuwith Program of Computer Science & Information Technology suchada/
Chapter 6 Decision Statement
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
วาดภาพสวยด้วย Paint.
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
การรักษาความปลอดภัยของเอกสาร
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม Do Loop Until โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึ่ม Lec03 : 25/03/2551 การทำงานกับ Event ต่าง ๆ โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
วิชา :: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
Modular Algorithm Function & Procedure By Nattapong Songneam
Selection Nattapong Songneam.
เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลพนักงาน ด้วย ADO.NET vs. DataReader
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก intro_vb_net_06 การสร้างกราฟเส้นตรงด้วย VB.NET
วิชาการเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 3 การสร้าง Appication แบบ Windows Form
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมสั่งงานตัวควบคุม (Control)
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
บทที่ 5 เทคนิคการสร้างแอพพลิเคชัน
บทที่ 2 ฟังก์ชันใน Visual Basic 6.0
Array 1. Array คือ 2 ตัวแปรชุด ( Arrays ) คือ กลุมของขอมูลที่มีชนิด ของขอมูลเหมือนกัน จึงทําการจัดกลุมไวดวยกัน แลวอางถึงดวยกลุมของขอมูลนั้นดวยชื่อ.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
VB6: MessageBox Function (msgbox)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Advanced VB (VB ขั้นสูง) บทที่ 7

การใช้งานฟังก์ชั่น เราสามารถสร้าง “ฟังก์ชั่น” เพื่อการเรียกใช้ได้หลายๆครั้ง สามารถส่งค่าไปให้กับฟังก์ชั่นได้ สามารถรับค่าจากฟังก์ชั่นได้ (10,5) 15 Sum(a,b)

ประเภทของฟังก์ชั่น 1. Sub 2. Function ไม่คืนค่ากลับ เช่นทำการวาดรูป เช่นคำนวณแล้วส่งผลลัพธ์กลับ

ทดลอง Function สร้างฟอร์มขึ้นมาดังรูป Text1 Text2 Command1

เขียนโค๊ด ดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่ม แล้วเขียนโค๊ด

อธิบายโค๊ด เรียกฟังก์ชั่น ประกาศฟังก์ชั่น คืนค่ากลับ ทดลอง Run

ทดลองด้วยตนเอง ลองเพิ่มปุ่มมาอีก 3 ปุ่ม เพื่อทำการ -, * , / โดยใช้การทำงานของฟังก์ชั่น

ทดลอง Sub สร้างฟอร์มขึ้นมาดังรูป

เขียนโค๊ด ดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่ม แล้วเขียนโค๊ด เรียก Sub ประกาศ Sub ทดลอง Run

ทดลองด้วยตนเอง ลองสร้างปุ่มขึ้นมาดังนี้ ให้ทำงานด้วย Sub เมื่อกดให้ MsgBox ว่า Hi เมื่อกดให้ MsgBox ว่า Hello ให้หาเลขยกกำลัง ให้แสดงว่า “คุณเลือก....”

การใช้งาน Array อาเรย์เป็นวิธีการในการเขียนโปรแกรมที่เป็นประโยชน์อย่างมาก เราสามารถอ้างถึงข้อมูลได้จากตัวแปรตัวเดียว โดยใช้ “ดัชนี” (Index) รูปแบบ Dim ชี่อตัวแปร(ขนาด) as ประเภทข้อมูล ตัวอย่าง Dim CusName(10) as String Dim Count(100 to 500) as Integer String จำนวน 10 ช่อง Integer จำนวน 100 ถึง 500 (400 ช่อง)

ภาพอธิบาย Array เราสามารถมอง Array เป็นลักษณะของ “ช่องข้อมูล” ได้ แต่ละช่องสามารถเก็บข้อมูลได้ 1 ค่า แต่ละช่องจะมี “ดัชนี” ในการอ้างถึง .... 0 1 2 n

การนำค่าไปเก็บในอาเรย์ จะใช้ดัชนีอ้างถึง 200 a .... 0 1 2 n Dim a(100) as Integer a(2) = 200 การอ่านค่าจากอาเรย์ a .... 0 1 2 n 200 Z = a(2)

ทดลอง สร้างฟอร์มดังรูป Text1

เขียนโค๊ด ดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่ม แล้วเขียนโค๊ด ประกาศตัวแปรแบบ Global Array ขนาด 10 ดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่ม แล้วเขียนโค๊ด ดัชนีของ Array เรียก Sub ขยับ Index มีต่อ

ต่อ ส่วนของ Sub วนรอบ 10 รอบ เพื่อรวมค่าทั้งหมด โดยดึงจาก Array

การสร้างอาเรย์ของคอมโพเนนท์ เราสามารถสร้างคอมโพเนนท์ให้เป็นอาเรย์ได้ เช่น อาเรย์ของ TextBox สามารถใช้อาเรย์ในการอ่าน / เขียนข้อมูลต่างๆได้ เช่น Text1(0) = “Hello” MsgBox(“Hello “ & Text1(2))

ทดลอง ให้สร้างคอมโพเนนท์ TextBox ขึ้นมาดังรูป ทำการเลือกโดยใช้เมาส์ลากครอบทั้งหมด ดังรูป Text1

ต่อ กด CTRL+C และ CTRL+V ตามลำดับ จะเกิด Message Box ขึ้นมาให้กด Yes Message Box จะถามว่า ต้องการสร้างอาเรย์ของคอมโพเนนท์หรือไม่ หากตอบ No จะสร้าง Text2 และ Label2 แต่หากตอบ Yes จะเกิด Text1(0) และ Text1(1) และ Label1(0) และ Label1(1)

สร้างฟอร์ม ให้สร้างฟอร์มดังรูป (โดยใช้อาเรย์) command1(2) command1(0)

เขียนโค๊ด ดับเบิ้ลคลิ้กที่ปุ่ม command2 แล้วเขียนโค๊ดลงไป ทดลอง Run

ลองเอง ให้สร้างฟอร์มขึ้นมาดังรูป โดยใช้อาเรย์ของคอมโพเนนท์ ให้สร้างฟอร์มขึ้นมาดังรูป โดยใช้อาเรย์ของคอมโพเนนท์ เมื่อกดปุ่มให้เอาคำมาต่อกัน