สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถานการณ์เศรษฐกิจและสังคม ในปัจจุบันและในอนาคต ที่มีผลกระทบต่อแรงงานในปี 2552 โดย อารยะ มาอินทร์ ร.ผอ.สำนักยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนาทางสังคม สศช. วันที่ 22 มกราคม 2552 ณ กระทรวงแรงงาน
ประเด็นนำเสนอ ภาพรวมวิกฤตเศรษฐกิจโลก และสถานการณ์เศรษฐกิจไทย สถานการณ์แรงงานและสังคม นโยบายรัฐบาลและความก้าวหน้า
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก พอล ครุกแมน นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลปี 2551 คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจโลกจะประสบภาวะถดถอยจากวิกฤติการเงินถึงปี 2554 OECD คาดการณ์ว่าวิกฤตเศรษฐกิจโลกจะทำให้มีผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นจากเดิม อย่างน้อย 25 ล้านคนทั่วโลกโดยในกลุ่มประเทศสมาชิก OECD จะมีผู้ว่างงานเพิ่มขึ้น 8-10 ล้านคน
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก อังค์ถัด (UNCTAD) คาดการณ์ว่าเม็ดเงินลงทุนจากต่างประเทศทั่วโลกลดลงร้อยละ 21 หรือ 1.4 ล้านล้านดอลลาร์ ในปี 2551 ธนาคารโลกคาดการณ์ว่าในปี 2552 เศรษฐกิจจีนจะขยายตัวร้อยละ 7.5 ต่ำสุดในรอบ 19 ปี จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจภายในของจีน OECD คาดว่าเศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำจะหดตัวลงถึงกลางปี 2552 โดย สหรัฐมีแนวโน้มหดตัวลง 0.9% กลุ่มประเทศยุโรป 0.6% ญี่ปุ่น 0.1% และกลุ่มประเทศสมาชิก OECD 0.4 %
แนวโน้มการว่างงานของประเทศอุตสาหกรรมและไทย จำนวนผู้ว่างงาน (ล้านคน) อัตราการว่างงาน (%) จำนวนผู้ว่างงาน (ล้านคน) 2550 2551 2552 สหรัฐอเมริกา 4.6 5.7 7.3 7.1 8.8 11.4 ญี่ปุ่น 3.9 4.1 4.4 2.6 2.7 2.9 เกาหลี 3.2 3.6 0.8 0.9 รวมกลุ่มประเทศ OECD 5.6 5.9 6.9 31.9 34.0 40.1 ประเทศไทย 1.4 2.5-3 0.5 0.6 0.9-1.2 Source: OECD (2008), OECD Economic Outlook, No. 84, November.
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน 1. ภาพรวม เศรษฐกิจปี 51 มีแนวโน้มชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง Q 1 ขยายตัวร้อยละ 6.1 Q 2 ขยายตัวร้อยละ 5.3 Q 3 ขยายตัวร้อยละ 4.0 ทั้งปีคาดว่าจะต่ำกว่าร้อยละ 3.0 เนื่องจาก : การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง ภาวะเศรษฐกิจโลกเริ่มชะลอตัว
สถานการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบัน สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) สถานการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบัน 2. ภาคการผลิต รายได้ภาคเกษตร : เดือน พ.ย. เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.4 ลดลงจาก Q3 (57.4) เนื่องจากราคาสินค้าเกษตรเริ่มลดลง อุตสาหกรรม : ดัชนีอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ 6.6 และการใช้กำลังการผลิต ลดลงเหลือร้อยละ 61.2 ในเดือน พ.ย. ท่องเที่ยว : จำนวนนักท่องเที่ยวในเดือน ธ.ค. ลดลง 1.13 ล้านคน
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) การใช้จ่ายเอกชน (พ.ย.) การลงทุน ดัชนีการลงทุนขยายตัวร้อยละ 1.2 ปริมาณจำหน่ายรถยนต์หดตัวร้อยละ 36.7 ปริมาณจำหน่ายซีเมนต์หดตัวร้อยละ 22.4 การบริโภค ดัชนีการบริโภค หดตัวร้อยละ 1.6
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) 4. ด้านรายได้รายจ่ายรัฐบาล (ต.ค.-ธ.ค.51) รายได้ : จัดเก็บ 272,837 ลบ. ลดลงร้อยละ 16.1 ของช่วงเดียวกันในปีที่แล้ว เนื่องจากการหดตัวของภาษีสรรพสามิต ธุรกิจการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีศุลกากร และรัฐวิสาหกิจนำส่งรายได้ลดลง รายจ่าย : เบิกจ่าย 404,340 ลบ. สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ร้อยละ 2.8 ดุลการคลัง : ขาดดุลใน งปม. 129,003 ลบ. นอก งปม. 79,131 ลบ. และดุลเงินสด 208,134 ลบ.จากการไถ่ถอนตั๋วเงินคลังสุทธิ การถอนคืน VATของกรมสรรพากร
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) 5. ด้านต่างประเทศ (ต.ค. - พ.ย. 51) ส่งออก : มูลค่า หดตัวร้อยละ 17.7 ปริมาณ หดตัวร้อยละ 20.9 นำเข้า : ปริมาณ หดตัวร้อยละ 9.4 ดุลการค้า ดุลการค้า ขาดดุล 1.9 พันล้าน US$ ดุลบริการและเงินโอน ขาดดุล 240 ล้าน US$
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) 6. ด้านการเงิน อัตราดอกเบี้ย พ.ย. 51 : ฝากประจำ 1ปี ร้อยละ 1.75-2.00 เงินกู้ลูกค้าชั้นดี ร้อยละ 6.75-7.00 สินเชื่อภาคเอกชน พ.ย. 51 : ขยายตัวร้อยละ 11.2 ตลาดหลักทรัพย์ ต่ำสุดในเดือน ต.ค.51 และฟื้นตัว เล็กน้อย ณ 20 ม.ค.52 อยู่ที่ 433.19 จุด อัตราแลกเปลี่ยน ณ 20 ม.ค.52 : 35.02 บาท/US$ ทุนสำรองระหว่างประเทศ : แนวโน้มเพิ่มขึ้น ณ 26 ธ.ค.51 เท่ากับ 110.9 พันล้าน US$ อัตราเงินเฟ้อ ธ.ค. 51 : ร้อยละ 0.4 ต่ำสุดในรอบ 76 เดือน ตลอดปี 2551 : ร้อยละ 5.5
สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจของไทย GDP ขยายตัวในอัตราที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง จนถึงปี 52 กำลังการผลิตของอุตสาหกรรม และดัชนีการ บริโภคลดลง ภาครัฐจัดเก็บภาษีได้น้อยลง ขณะที่มีรายจ่าย เพิ่มขึ้น มูลค่าการส่งออกหดตัว จำนวนนักท่องเที่ยว ลดลง
สถานการณ์แรงงานและสังคม การเลิกจ้าง (1 มกราคม 2551 - 19 มกราคม 2552) สถานประกอบการที่มีการเลิกจ้างแล้ว 733 แห่ง ลูกจ้างถูกเลิกจ้าง 57,499 คน และได้รับ ผลกระทบ 159,321 คน พื้นที่ที่เลิกจ้างมาก ปทุมธานี สมุทรปราการ กรุงเทพฯ พระนครศรีอยุธยา ตาก ประเภทกิจการที่เลิกจ้างมาก ประกอบด้วย 1) สิ่งทอ 87 แห่ง 2) บำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ รับทำบัญชี 68 แห่ง 3) เฟอร์นิเจอร์ เครื่องประดับ 63 แห่ง 4) ผลิตอุปกรณ์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ 59 แห่ง 5) ผลิตผลิตภัณฑ์จากแร่อโลหะ โลหะ 53 แห่ง
แนวโน้มการเลิกจ้าง พื้นที่ที่มีแนวโน้ม เลิกจ้างมาก ลำพูน สมุทรปราการ สถานประกอบการที่มีแนวโน้มเลิกจ้าง 396 แห่ง ลูกจ้างมีแนวโน้มถูกเลิกจ้าง 48,227 คน ได้รับผลกระทบ 183,610 คน พื้นที่ที่มีแนวโน้ม เลิกจ้างมาก ลำพูน สมุทรปราการ ปทุมธานี นครราชสีมา กรุงเทพฯ ประเภทกิจการที่มีแนวโน้มเลิกจ้าง มาก 1) ผลิตอุปกรณ์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ 88 แห่ง 2) ผลิตยานยนต์และอุปกรณ์ขนส่ง 47 แห่ง 3) เฟอร์นิเจอร์ เครื่องประดับ 40 แห่ง 4) ผลิตเครื่องจักร 32 แห่ง 5) ผลิตเคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก 32 แห่ง
ประมาณการผู้สำเร็จการศึกษาที่เข้าสู่ตลาดแรงงานใหม่ หน่วย:คน ระดับการศึกษา 2551 2552 2553 2554 ปวช. 43,120 47,040 48,400 48,070 อนุปริญญา 76,763 79,127 87,295 87,867 ปริญญาตรีและสูงกว่า 270,945 287,352 326,062 337,465 รวม 390,828 413,520 461,757 473,402 ประมาณการโดย สำนักยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนาทางสังคม สศช.
จำนวนผู้ว่างงาน 5.5 แสนคน แนวโน้มการว่างงานปี 2552 การว่างงานปี 2551 จำนวนผู้ว่างงาน 5.5 แสนคน (ประมาณการโดย สศช.) แนวโน้มการว่างงานปี 2552 ธนาคารแห่งประเทศไทย 1.1-1.4 ล้านคน สศช. 0.9-1.2 ล้านคน TDRI (ไตรมาสแรก) 0.9 ล้านคน ศูนย์วิจัยกสิกรไทย 1.1-1.4 ล้านคน ศูนย์พยากรณ์และธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 0.9-1.3 ล้านคน อัตราการว่างงาน 1.4 % GDP 3 % อัตราการว่างงาน 2.5-3 % GDP 0-2 % (ข้อมูลโดย ธปท.)
สถานการณ์ด้านสังคม ปัญหาอาชญากรรม 3 ไตรมาสแรกปี 51 สัดส่วนคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์สิน : 76.1 คดีต่อประชากรแสนคน สัดส่วนคดีชีวิต ร่างกาย และเพศ : 37.7 คดีต่อประชากรแสนคน 2. ปัญหายาเสพติด 3 ไตรมาสแรกปี 51 สัดส่วนคดียาเสพติด 230.6 คดีต่อประชากรแสนคน 3. สุขภาพจิต ปี 50 จำนวนผู้ป่วยทางสุขภาพจิต จำนวน 1.34 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 2.13 ของประชากรทั้งประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นปัญหาที่ทำให้เครียดมากที่สุดคือ ปัญหาการงาน รองลงมาคือ ปัญหาการเงิน โดยผู้หญิงมีความเครียดสูงกว่าผู้ชาย
สถานการณ์ด้านสังคม (ต่อ) 4. การคุ้มครองผู้บริโภค ปี 51 มีผู้ร้องเรียนทั้งหมด 3,435 ราย บัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล หนี้นอกระบบ ร้อยละ 57 : ติดตามทวงหนี้อย่างไม่เป็นธรรม การประกันภัย ร้อยละ 14 คุณภาพบริการ ร้อยละ 6 5. ภาวะหนี้สิน ปี 2550 ครัวเรือนมีหนี้สิน 116,681 บาท ครัวเรือนร้อยละ 63 มีหนี้สิน
นโยบายเร่งด่วน ที่เกี่ยวกับด้านแรงงาน นโยบายรัฐบาล นโยบายเร่งด่วน ที่เกี่ยวกับด้านแรงงาน 1.2.1 ร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อชะลอการเลิกจ้าง 1.2 รักษาและ เพิ่มรายได้ ของประชาชน 1.2.2 ฝึกอบรมแรงงานที่ว่างงาน 500,000 คน ในระยะเวลา 1 ปี 1.2.3 เร่งรัดบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ถูกเลิกจ้าง และผู้ว่างงาน
นโยบายรัฐบาล 3.2 นโยบาย แรงงาน นโยบายในช่วง 3 ปี ด้านแรงงาน 3.2.1 การคุ้มครองตามมาตรฐานแรงงานไทย 3.2.2 ปฏิรูประบบประกันสังคมให้มีความเข้มแข็งมั่นคง 3.2 นโยบาย แรงงาน 3.2.3 พัฒนาและฝึกอบรมแรงงานให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน 3.2.4 ส่งเสริมแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศ อย่างมีศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3.2.5 สนับสนุนสวัสดิการด้านแรงงาน 3.2.6 การจัดระบบการจ้างงานแรงงานต่างด้าว 3.2.7 ส่งเสริมการมีงานทำของผู้สูงอายุและคนพิการ
แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ มุ่งสร้างรายได้และลดภาระค่าใช้จ่ายของกลุ่มเป้าหมายที่เดือดร้อน 9 กลุ่ม
แผนงานบริหารเพื่อรองรับ กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น เพื่อชดใช้เงินคงคลัง กรอบวงเงิน 115,000.0 ล้านบาท แผนงานฟื้นฟูและเสริมสร้างความเชื่อมั่นด้านเศรษฐกิจ 37,464.6 ล้านบาท อาทิ โครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชน และบุคลากรภาครัฐ โครงการ 5 มาตรการ 6 เดือนเพื่อลดค่าครองชีพ โครงการจัดทำและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร โครงการก่อสร้างทางในหมู่บ้านฯ แผนงานบริหารเพื่อรองรับ กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น 2,391.3 ล้านบาท แผนงานรายจ่าย เพื่อชดใช้เงินคงคลัง 19,139 ล้านบาท แผนงานเสริมสร้างรายได้ พัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงด้านสังคม 56,004.6 ล้านบาท อาทิ โครงการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 15 ปี โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน โครงการสร้างหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุ โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ (6,900 ลบ.) โครงการส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ที่เกี่ยวข้องด้านแรงงาน
แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ที่เกี่ยวข้องด้านแรงงาน (ต่อ) โครงการ ฝึกอบรมกลุ่มแรงงานนอกภาคเกษตร 500,000 คน พิจารณาภายใต้ คณะกรรมการบริหารโครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานเพื่อสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจและสังคม ที่มีรองนายกฯ กอร์ปศักดิ์ฯ เป็นประธาน ซึ่งแต่งตั้งตามมติ ครม.เมื่อวันที่ 13 ม.ค. 52
มาตรการภาษีกระตุ้นเศรษฐกิจ ยกเว้นภาษีให้ผู้ซื้ออสังหาฯ ใหม่ ยกเว้นภาษี SME ที่มีรายได้ไม่ถึง 1 ล้านบาท ยกเว้นภาษีวิสาหกิจชุมชนที่มีรายได้ต่ำกว่า 1.8 ล้านบาท ลดหย่อนภาษีบริษัทหรือ หจก. ที่จัดอบรมสัมมนาในประเทศ ยกเว้นภาษีเพื่อสนับสนุนธุรกิจร่วมทุน ยกเว้นภาษีที่เกี่ยวกับปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มธุรกิจเฉพาะสำหรับบริษัท ที่โอนกิจการบางส่วน
ประเด็นสำคัญ วิกฤตเศรษฐกิจคาดว่าจะใช้ระยะเวลา นานกว่า 2 ปี ควรกำหนดแนวทางดังนี้ กำหนดมาตรการ/แนวทางในการช่วยเหลืออย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ จัดลำดับความสำคัญเร่งด่วน โดยเน้นกลุ่มที่ได้รับ ผลกระทบมากเป็นลำดับแรก เช่น กลุ่มผู้ว่างงาน จากวิกฤตเศรษฐกิจ
การแก้ไขปัญหาด้านแรงงานต้องมีการบูรณาการทั้งระบบ การแก้ไขปัญหาด้านแรงงานต้องมีการบูรณาการทั้งระบบ กำหนดทิศทาง/เป้าหมายการดำเนินงาน (กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่) กิจกรรมที่สอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาตามลำดับความสำคัญ เชื่อมโยงทั้งระดับภาพรวม และระดับพื้นที่ ภารกิจของหน่วยงานต่างๆ ต้องมีความชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน
ควรลงทุนในโครงการที่มีผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจและสังคมสูง ควรลงทุนในโครงการที่มีผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจและสังคมสูง เป็นโครงการที่กระตุ้นให้เกิดการบริโภค เน้นโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐที่มีการใช้ แรงงานมาก และมีผลต่อการท่องเที่ยวสูง หรือ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นของประเทศ ลักษณะโครงการต้องสามารถเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจ ในช่วงที่เศรษฐกิจฟื้นตัว
ส่งเสริมการจ้างงานในระดับพื้นที่ ส่งเสริมการจ้างงานในระดับพื้นที่ โครงการส่งเสริมการจ้างงานด้านสาธารณูปโภค พื้นฐานในชุมชน การดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และเด็กเล็กในชุมชน การส่งเสริมอาชีพอิสระ ที่สอดคล้องกับ ความต้องการ ของตลาด และไม่เกิดความเสี่ยง
ให้ความสำคัญกับโครงการที่ก่อให้เกิด การจ้างงานที่ถาวร โดยเฉพาะงานที่เป็นที่ต้องการ ของตลาดแรงงาน ผู้ช่วยพยาบาล ผู้ทำงานบ้าน โดย ปรับทัศนคติให้เกิดการยอมรับ สร้างระบบสวัสดิการและการคุ้มครองที่เหมาะสม