สัปดาห์ที่ 4.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ผศ. วีระศักดิ์ จารุชัยนิวัฒน์
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ข้อเสนอว่าด้วย ระบบเลือกตั้งและสถาบันการเมือง
ประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ หมายความว่า
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
การมีส่วนร่วมในสหกรณ์
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
YOUR SUBTITLE GOES HERE
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
โครงสร้างขององค์การ.
สู่การเดินหน้าปฏิรูป วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล
บทบาทด้านนิติบัญญัติ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัปดาห์ที่ 4

หลักประชาธิปไตย

เราจะแยกการพิจารณาเรื่องของประชาธิปไตย ออกเป็น 3 ด้านด้วยกัน คือ 1 เราจะแยกการพิจารณาเรื่องของประชาธิปไตย ออกเป็น 3 ด้านด้วยกัน คือ 1. ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นอุดมการณ์ (an ideology) 2. ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นรูปการปกครอง (a form of government) 3. ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นวิถีชีวิต (a way of life)

ประชาธิปไตย (democracy) มาจากรากศัพท์ภาษากรีก 2 คำบวกกัน คือ Demos ซึ่งแปลว่า ประชาชน กับ Kratos ซึ่งแปลว่า อำนาจ หรือ การปกครอง รวม 2 คำเข้าด้วยกันก็แปลได้ว่า ประชาชน เป็นเจ้าของอำนาจ หรือ การปกครองโดยประชาชน

Plato - นิยมการปกครองโดยกษัตริย์นักปรัชญา Aristotle Plato - นิยมการปกครองโดยกษัตริย์นักปรัชญา Aristotle - นิยมการปกครองแบบ Aristocracy - ไม่นิยม mob rule Waltaire - ประชาธิปไตยเหมาะกับประเทศเล็กๆ เท่านั้น

ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นอุดมการณ์ จะยึดมั่นในหลักการสำคัญ 2 ประการ คือ 1. ความเท่าเทียมกัน 2. ความมีเสรีภาพ

ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นรูปแบบการปกครอง 2.1 ระบบรัฐสภา (Parliamentary System) 2.1.1 ประมุขของรัฐ 2.1.2 รัฐสภา 2.1.3 คณะรัฐมนตรี 2.1.4 ศาล

จำนวน ส.ส ในสภา 700 คน สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) 200 คน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน ส.ส. แบบแบ่งเขต 400 คน จำนวน ส.ส. แบบแบ่งเขตในภาคต่างๆ ภาคเหนือ 75 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ *** 136 คน ภาคใต้ 56 คน ภาคกลาง 97 คน กรุงเทพฯ 36 คน รวมทั้งสิ้น 400 คน

2.2 ระบบประธานาธิบดี (Presidential System) 2.2.1 ประมุขของรัฐ 2.2.2 รัฐสภา 2.2.3 คณะรัฐมนตรี 2.2.4 ศาล

2.3 ระบบกึ่งประธานาธิบดี หรือกึ่งรัฐสภา (Semi-Presidential or Semi-parliamentary System) 2.3.1 ประมุขของรัฐ 2.3.2 รัฐสภา 2.3.3 คณะรัฐมนตรี 2.3.4 ศาล

3. ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นวิถีชีวิต You are what you eat “การปกครองนั้น คืออะไร ถ้าไม่ใช่ภาพสะท้อน ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดจากธรรมชาติของมนุษย์” James Madison, The Federalist ประชาชนเป็นอย่างไร รัฐบาลก็เป็นอย่างนั้น การปกครองประเทศไหนเป็นอย่างไร ประชาชนก็เป็นอย่างนั้น

ผู้ที่มีส่วนสำคัญในการให้ประชาธิปไตยเป็นวิถีชีวิต ผู้ที่มีแนวคิดใหม่ๆ นักการเมืองคุณภาพ นักธุรกิจที่ไม่เห็นแก่ตัว นักอุตสาหกรรม นายธนาคารที่ซื่อสัตย์ กรรมการ ชาวนาชาวไร่ ปัญญาชนและนักวิชาการ นิสิตนักศึกษา

ในฐานะที่เป็นผู้อยู่ภายใต้การปกครองนั้น ประชาชน แต่ละคนก็จะต้องอยู่ทำหน้าที่สำคัญ 4 ประการ คือ ยอมรับกฎเกณฑ์ที่ผู้แทนของตนสร้างขึ้น และออกใช้บังคับเป็นกฎหมาย ติดตามการดำเนินงานผู้แทนของตนอย่างใกล้ชิด ให้การสนับสนุนผู้แทนที่ดีต่อไป และเลิกให้การสนับสนุนผู้แทนที่เลว เตรียมตัวให้พร้อมที่จะไปทำหน้าที่เป็นผู้แทนบ้าง (ถ้าอยู่ในวิสัยที่จะทำได้)

3. ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นวิถีชีวิต ประชาชนยังอาจจะช่วยทำให้ประชาธิปไตย เจริญก้าวหน้าได้โดยการปฏิบัติ ดังนี้ ยอมรับมติของประชาชนฝ่ายข้างมาก ปฏิบัติตามกฎหมายของบ้านเมืองสม่ำเสมอ พยายามรวมกำลังกันเป็นกลุ่มเป็นก้อนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติ พยายามใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาข้อขัดแย้งต่างๆ ให้มากที่สุด