บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการหาทางเลือกที่ดีที่สุด(optimization)
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
Quadratic Functions and Models
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
การสร้างแบบเสื้อและแขน
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับรวม รายรับเฉลี่ย และรายรับหน่วยท้ายสุด การหาค่า TR AR และ MR จากสมการอุปสงค์ การวัดค่า TR AR และ MR

7.1 รายรับจากการผลิต (Revenue) รายรับจากการผลิต หมายถึง รายได้ที่ผู้ผลิตได้รับจากการขายผลผลิตตามราคาที่กำหนดขึ้น รายรับ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ รายรับรวม (Total Revenue: TR) หมายถึงรายรับทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับจากการขายสินค้าจำนวนต่างๆ ณ ระดับราคาขายต่างๆ ในตลาด TR = P x Q รายรับเฉลี่ย (Average Revenue: AR) หมายถึงรายรับทั้งหมดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย AR = TR = PxQ = P Q Q รายรับหน่วยท้ายสุด (Marginal Revenue: MR) หมายถึง รายรับทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงการขายสินค้าเพิ่มขึ้นอีก 1 หน่วย MR = TR = TRn - TRn-1 Q

7.1 ลักษณะของเส้นรายรับต่าง ๆ 7.1 ลักษณะของเส้นรายรับต่าง ๆ เส้นรายรับประเภทต่างๆ ขึ้นอยู่กับตลาดผลผลิตว่าเป็นตลาดผลผลิตประเภทใด ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ลักษณะตลาดที่สำคัญคือ มีผู้ซื้อผู้ขายจำนวนมาก ทำให้ผู้ขายแต่ละรายไม่มีอิทธิพลในการกำหนดราคาสินค้าที่ขาย ราคาสินค้าจะถูกกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดและมีราคาเดียว หาก P = 10 TR = P x Q = 10 x Q AR = TR/Q = 10 MR = TR/Q = 10Q/Q = 10

ความสัมพันธ์ของ TR, AR และ MR ราคา ปริมาณสินค้า รายรับรวม รายรับเฉลี่ย รายรับหน่วยสุดท้าย (P) (Q) (TR) (AR) (MR) 10 1 2 20 3 30 4 40 5 50 6 60

ลักษณะเส้นรายรับของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ TR 20 10 D=AR=MR=P Q 1 2

ความสัมพันธ์ของ TR, AR และ MR 2. ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ในตลาดประเภทนี้ผู้ขายมีอิทธิพลในการกำหนดราคาสินค้า ปริมาณการขายสินค้าและราคาสินค้ามีผลต่อกัน คือ ถ้าต้องการขายสินค้าได้ปริมาณมาก ต้องตั้งราคาต่ำ แต่หากขายสินค้าปริมาณน้อย ราคาสินค้าจะสูงขึ้น ราคา (P) ปริมาณสินค้า (Q) รายรับรวม (TR) รายรับเฉลี่ย (AR) รายรับหน่วยท้ายสุด (MR) 10 1 9 2 18 8 3 24 6 7 4 28 5 30 –2 –4

ลักษณะเส้นรายรับของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ราคา, รายรับ 30 - TR 20 - 10 - AR Q 1 2 3 4 5 6 7 8 MR เส้น TR เป็นเส้นโค้งรูปตัวยูคว่ำ เนื่องจากราคาขายไม่คงที่ เส้น AR และ MR มีค่า เรื่อยๆ เมื่อปริมาณขาย เส้น MR อยู่ต่ำกว่า AR เสมอ

ลักษณะเส้นรายรับของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (continuous function) ราคา, รายรับ TR AR MR ปริมาณผลผลิต (Q) Q

7.3 ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับรวม รายรับเฉลี่ย และรายรับหน่วยท้ายสุด 7.3 ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับรวม รายรับเฉลี่ย และรายรับหน่วยท้ายสุด ความสัมพันธ์ระหว่าง TR และ MR เมื่อ Q  TR  MR เป็นบวก เมื่อ MR = 0  TR max เมื่อ MR เป็นลบ  TR ความสัมพันธ์ระหว่าง AR และ MR เมื่อ AR คงที่  AR = MR เมื่อ AR  AR > MR ทุกๆ ปริมาณผลผลิต

7.4 การหาค่า TR, AR และ MR จากสมการอุปสงค์ จากสมการอุปสงค์ Q = f (P) เช่น Q = 10-P P = 10-Q TR = P x Q = (10-Q) Q = 10Q-Q2 AR = TR = 10Q-Q2 = 10-Q = P Q Q MR = dTR = 10-2Q (MR คือค่าความชันของ TR) d Q หากมีค่า Q ก็สามารถรู้ค่า TR, AR, MR ณ Q นั้นได้ ที่ TR สูงสุด MR=0 เป็นปริมาณการผลิตใด? TR และ AR มีค่าเท่าใด? MR = 10-2Q 10-2Q = 0 2Q = 10 Q = 5  TR สูงสุด คือ TR = 10Q-Q2 = (10 x 5) - 52 = 50-25 = 25 และที่ Q = 5, AR = 10-5 = 5

TR เมื่อ Q = OQ หน่วย = OA หน่วย 7.5 การวัดค่า TR, AR และ MR 1. การวัดค่า TR วัดค่า TR จากเส้น TR รายรับ รายรับ TR E E A A TR Q Q Q Q TR เมื่อ Q = OQ หน่วย = OA หน่วย

TR = P  Q = (OP)  (OQ)   OPEQ วัดค่า TR จากเส้น AR สามารถหา TR จากเส้น AR โดยเอาค่า AR ณ ปริมาณที่ต้องการหา TR มาคูณด้วยปริมาณดังกล่าว จะได้พื้นที่ ซึ่งมีค่าเท่ากับ TR รายรับ รายรับ E E P AR P AR Q Q Q Q TR = P  Q = (OP)  (OQ)   OPEQ

วัดค่า TR จากเส้น MR รายรับ รายรับ A A สามารถหา TR จากเส้น MR โดย TR จะเท่ากับพื้นที่ใต้เส้น MR ณ ปริมาณที่ต้องการหา TR รายรับ รายรับ A E A E AR= MR AR MR Q Q Q Q TR เมื่อ Q = OQ หน่วย คือพื้นที่ใต้เส้น MR ที่ Q = OQ TR =  OAEQ

2. การหาค่า AR รายรับ รายรับ หาค่า AR จากเส้น TR ที่เป็นเส้นตรง TR TR2 E AR TR1 Q Q Q1 Q2 Q1 Q2 AR เป็นค่า slope ของเส้นที่ลากจาก origin มายัง TR ณ ปริมาณต่าง ๆ เช่น ที่ Q=OQ1 หน่วย  AR=TR1/OQ1 ที่ Q=OQ2 หน่วย  AR=TR2/OQ2 เนื่องจาก TR เป็นเส้นตรง slope ของเส้นที่ลากจาก origin ไปยัง TR มีค่า = slope TR และมีค่าคงที่ตลอด เมื่อสร้างเส้น AR จะได้เส้น AR เป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน

หาค่า AR จากเส้น TR ที่เป็นเส้นโค้ง รายรับ รายรับ B A TR E F AR Q Q Q1 Q2 Q1 Q2 AR ได้จาก slope ของเส้นที่ลากจากจุดกำเนิดไปยัง TR เช่น Q = OQ1 หน่วย  AR=AQ1/OQ1 Q = OQ2 หน่วย  AR=BQ2/OQ2 ค่าของ AR จะ เรื่อย ๆ

3. การหาค่า MR หาค่า MR จากเส้น TR ที่เป็นเส้นตรง รายรับ รายรับ TR A Q Q Q1 Q1 MR เป็นค่า slope ของ TR คือ MR = TR/Q ที่ Q=OQ1 หน่วย MR= slope TR ที่จุด A และไม่ว่าจะหา slope ที่จุดใดๆ บนเส้น TR ที่เป็นเส้นตรง จะได้เส้น MR ที่เป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน

หาค่า MR จากเส้น TR ที่เป็นเส้นโค้ง รายรับ รายรับ B A C TR Q Q Q1 MR เส้น TR เป็นเส้นโค้ง มี slope ไม่คงที่ ที่ Q= OQ1 หน่วย MR = slope ที่จุด A โดยค่า slope ของ TR จะลดลงเรื่อยๆ และหลังจาก slope เท่ากับ 0 ที่จุด B แล้ว ก็จะมีค่าติดลบ เช่นที่จุด C เมื่อนำมาสร้างเส้น MR ได้เส้น MR ที่ลดลงจากซ้ายไปขวา และมี slope = 0 ณ จุดตัดบนแกนนอน (Q=0) หลังจากนั้นค่า MR ติดลบ

4. การหาเส้น MR จากเส้น AR ที่มีค่าลดลง เมื่อ P ไม่คงที่ AR จะ หาก Q เรื่อยๆ MR จึง < AR ทุกระดับ Q เมื่อลากเส้น MR จากเส้น AR ที่มีค่าลดลง จะได้ MR แบ่งครึ่ง AR ทุกระดับ Q TR = P  Q เมื่อ P=OX และ Q=OQ1 TR = (OX)(OQ1) = OXYQ1 TR = OXDEQ1+DYE TR เป็นพื้นที่ใต้เส้น MR ณ Q=OQ1 TR = พื้นที่ OBDEQ1 TR = OXDEQ1+BXD BXD และ  DYE มีค่าเท่ากัน โดยมีมุมฉากและมุมตรงข้ามเท่ากัน XD = DY P B D Y X E MR AR Q Q1 C