ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค บทที่ 4 ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค อรรถประโยชน์ ทฤษฏีอรรถประโยชน์ ทฤษฏีเส้นความพอใจเท่ากัน ความพอใจส่วนเกินของผู้บริโภค
4.1 อรรถประโยชน์ (Utility) 4.1.1 ความหมายของอรรถประโยชน์ อรรถประโยชน์ หมายถึง อำนาจของสินค้าและบริการที่สามารถสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ หรือเป็นความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งในระยะเวลาหนึ่ง สินค้าและบริการจะให้อรรถประโยชน์แก่ผู้บริโภคได้เมื่อผู้บริโภคมีความต้องการในสินค้าเกิดขึ้น สินค้าต่าง ๆ จะให้อรรถประโยชน์แก่ผู้บริโภคได้มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับระดับความต้องการของผู้บริโภค กล่าวคือ ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้ามาก อรรถประโยชน์จะสูง ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าน้อย อรรถประโยชน์จะต่ำ
4.1.2 ข้อสังเกตเกี่ยวกับอรรถประโยชน์ 4.1.2 ข้อสังเกตเกี่ยวกับอรรถประโยชน์ ประโยชน์กับอรรถประโยชน์มีความแตกต่างกัน อรรถประโยชน์ของสินค้าแต่ละชนิดที่ผู้บริโภคได้รับเหมือนกันอาจไม่เท่ากัน อรรถประโยชน์ที่ผู้บริโภคแต่ละรายได้รับจากการบริโภคสินค้าชนิดเดียวกันจะไม่เท่ากัน อรรถประโยชน์ของผู้บริโภคคนเดียวกันที่จะได้รับจากการบริโภคสินค้าชนิดเดียวกัน อาจจะไม่เท่ากันหากเป็นคนละระยะเวลา 4.1.3 ชนิดของอรรถประโยชน์ อรรถประโยชน์ที่นับหน่วยได้ (Cardinal Utility) อรรถประโยชน์ที่นับเป็นหน่วยไม่ได้ (Ordinal Utility) ทฤษฎีที่อธิบายพฤติกรรมของผู้บริโภค ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory) ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory)
4.2 ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory) ข้อสมมติฐานการวิเคราะห์ อรรถประโยชน์จากการบริโภคนับเป็นหน่วยได้ เป็น “UTIL” (Cardinal Utility) ผู้บริโภคจะเป็นผู้บริโภคที่มีเหตุผล (Rational Consumer) คือจะเลือกโดยแสวงหาความพอใจสูงสุดเท่าที่จะทำได้จากรายได้ที่มีอยู่ จำกัด ผู้บริโภคต้องมีความรู้ในเรื่องของราคาและคุณภาพของสินค้าที่เขาจะตัดสินใจเลือก สินค้าสามารถแยกเป็นหน่วยย่อย ๆ ได้ กำหนดให้ปัจจัยอื่นๆ คงที่ เช่น รายได้ รสนิยม และราคาสินค้าอื่นๆ
ในกรณีที่บริโภคครั้งละหลายหน่วย 4.2.1 อรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุด (Total Utility and Marginal Utility) อรรถประโยชน์รวม(Total Utility:TU) ผู้บริโภคดื่มน้ำแก้วแรก ได้อรรถประโยชน์ 10 ยูทิล ผู้บริโภคดื่มน้ำแก้วสอง ได้อรรถประโยชน์ 8 ยูทิล อรรถประโยชน์รวม(TU) เท่ากับ 18 ยูทิล อรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุด (Marginal Utility:MU) ผู้บริโภคดื่มน้ำแก้วแรก ได้อรรถประโยชน์ รวม 10 ยูทิล ผู้บริโภคดื่มน้ำแก้วสอง ได้อรรถประโยชน์ รวม 18 ยูทิล อรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุด (MU) เท่ากับ 8 ยูทิล การหาค่า MU MU1 = TU1 – TU0 MU = TU X ในกรณีที่บริโภคครั้งละหลายหน่วย
ปริมาณสินค้า X (หน่วยที่) อรรถประโยชน์รวม (TU) อรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุด (MU) 1 4 2 10 6 3 17 7 22 5 24 21 -3
สรุปความสัมพันธ์ของ TU และ MU ได้ดังนี้ QX 24 –3 22 7 21 6 5 17 4 10 1 2 3 TU และ MU สำหรับการบริโภคสินค้าหน่วยแรกๆ มีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ MU เป็นบวก TU จะมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ MU เป็นศูนย์ TU จะมีค่าสูงสุด เมื่อ MU เป็นลบ TU จะมีค่าลดลงเรื่อย
MU คือความชัน (Slop) ของเส้น TU ความสัมพันธ์ของ TU และ MU เป็นไปตามกฎแห่งการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุด (Law of Diminishing Marginal Utility) ในช่วงที่ MU มีค่าลดลง คือตั้งแต่หน่วยที่ 3 เป็นต้นไป กฎนี้มีว่า “เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าหรือบริการมาบำบัดความต้องการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทีละหน่วย อรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุดของสินค้าหรือบริการนั้นจะลดลงตามลำดับ” MU คือความชัน (Slop) ของเส้น TU MU = TU = dTU X dx ตัวอย่างการหา MU จากสมการ TU TU = 10X - X2 MU = 10 – 2X
4.2.2 ดุลยภาพของผู้บริโภควิเคราะห์โดยทฤษฎีอรรถประโยชน์ 4.2.2 ดุลยภาพของผู้บริโภควิเคราะห์โดยทฤษฎีอรรถประโยชน์ ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer’s Equilibrium) หมายถึง สภาวการณ์ที่ผู้บริโภคได้รับความพอใจสูงสุด จากการเลือกบริโภคสินค้าหรือบริการ จากรายได้ที่มีอยู่อย่างจำกัด ซึ่งเป็นปริมาณที่เหมาะสมที่สุดที่ไม่คิดจะเปลี่ยนแปลงไปอีก ดุลยภาพของผู้บริโภค แยกเป็น 4 กรณี คือ กรณีซื้อสินค้าเพียงชนิดเดียว กรณีซื้อสินค้า 2 ชนิด สินค้า 2 ชนิด มีราคาเท่ากัน สินค้า 2 ชนิด มีราคาไม่เท่ากัน สินค้ามากกว่า 2 ชนิด
ปริมาณสินค้า X (หน่วยที่) การแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการเลือกบริโภคสินค้า 1 ชนิด ผู้บริโภคจะมีความพอใจสูงสุดโดยการเปรียบเทียบอรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุดที่ได้จากการบริโภคสินค้านั้นกับ MU ของเงินที่ต้องเสียไปจากการซื้อสินค้านั้น เงื่อนไขดุลยภาพของผู้บริโภค MUx = MUm ตัวอย่าง ถ้าราคา X หน่วยละ 1 บาท และ MUm ของเงิน 1 บาท เท่ากับ 2 Utils และมีตารางข้อมูลการแสวงหาความพอใจสูงสุดในการเลือกบริโภค X ปริมาณสินค้า X (หน่วยที่) MUX MUm ของเงิน 1 บาท 1 4 2 3 5 MUm ของเงิน 0.5บาท 1 หาก X มีราคาลดลงเป็นหน่วยละ 0.50 บาท ผู้บริโภคจะเปลี่ยนแปลงการบริโภค X ใหม่ เพื่อให้ได้ดุลยภาพ จาก 3 หน่วย เป็น 4 หน่วย
ความสัมพันธ์เป็นไปตามกฎของอุปสงค์ เส้น D คือเส้นอุปสงค์ส่วนบุคคล จากการเลือกบริโภคสินค้าชนิดเดียวที่ได้รับความพอใจสูงสุด นำราคา X กับปริมาณการบริโภค X มาแสดงความสัมพันธ์ในรูปตาราง และกราฟ Px Qx 1 3 0.50 4 P 1 0.50 D Q 3 4 ความสัมพันธ์เป็นไปตามกฎของอุปสงค์ เส้น D คือเส้นอุปสงค์ส่วนบุคคล
โดยใช้งบประมาณทั้งหมด การแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการเลือกบริโภคสินค้าหลายชนิด 1. สินค้า 2 ชนิด มีราคาเท่ากัน ผู้บริโภคจะมีความพอใจสูงสุดโดยการเปรียบเทียบอรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุดที่ได้จากการบริโภคสินค้า 2 ชนิด เงื่อนไขดุลยภาพของผู้บริโภค MUX = MUY โดยใช้งบประมาณทั้งหมด ตัวอย่าง ผู้บริโภคคนหนึ่งมีรายได้ 10 บาท มีสินค้า 2 ชนิด คือ X และ Y ให้ตัดสินใจเลือก ภายใต้งบประมาณจำกัดที่มีอยู่ โดยราคาสินค้าทั้ง 2 ชนิดมีราคาเท่ากัน คือ หน่วยละ 1 บาท
สินค้า หน่วยที่ 1. X = 7, Y = 7 ใช้เงิน 14 บาท ได้ TU = 119 util สินค้า X (PX = 1) สินค้า Y (PY = 1) หน่วยที่ MUX TUX MUY TUY 1 21 10 2 18 39 9 19 3 15 54 7 26 4 12 66 6 32 5 75 36 81 38 8 -6 -2 1. X = 7, Y = 7 ใช้เงิน 14 บาท ได้ TU = 119 util 2. X = 6, Y = 4 ใช้เงิน 10 บาท ได้ TU = 113 util 3. X = 5, Y = 2 ใช้เงิน 7 บาท ได้ TU = 94 util MUx = MUy สรุป ผู้บริโภคจะได้ความพึงพอใจ (อรรถประโยชน์รวม) สูงสุด และมีเงินพอ โดยซื้อ X = 6, Y=4
โดยใช้งบประมาณทั้งหมด การแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการเลือกบริโภคสินค้าหลายชนิด 2. สินค้า 2 ชนิด มีราคาไม่เท่ากัน ผู้บริโภคจะมีความพอใจสูงสุดโดยการเปรียบเทียบอรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุดที่ได้รับต่อราคาสินค้าชนิดนั้น ของสินค้า 2 ชนิด เงื่อนไขดุลยภาพของผู้บริโภค MUX = MUY Px Py โดยใช้งบประมาณทั้งหมด ตัวอย่าง ผู้บริโภคคนหนึ่งมีรายได้ 10 บาท มีสินค้า 2 ชนิด คือ X และ Y ให้ตัดสินใจเลือก ภายใต้งบประมาณจำกัดที่มีอยู่ โดยราคา X หน่วยละ 3 บาท และราคา Y หน่วยละ 1 บาท
สินค้า สินค้า X (PX = 3) สินค้า Y (PY = 1) หน่วยที่ MUX TUX MUX/PX MUY TUY MUY/PY 1 21 7 10 2 18 39 6 9 19 3 15 54 5 26 4 12 66 32 75 36 81 38 8 -6 -2 MUx = MUy Px Py 1. X = 1, Y = 3 ใช้เงิน 6 บาท ได้ TU = 47 util 2. X = 2, Y = 4 ใช้เงิน 10 บาท ได้ TU = 71 util 3. X = 4, Y = 5 ใช้เงิน 17 บาท ได้ TU = 102 util 4. X = 6, Y = 6 ใช้เงิน 24 บาท ได้ TU = 119 util 5. X = 7, Y = 7 ใช้เงิน 28 บาท ได้ TU = 119 util 6. X = 8, Y = 8 ใช้เงิน 32 บาท ได้ TU = 111 util สรุป ผู้บริโภคจะได้ความพึงพอใจ (อรรถประโยชน์รวม) สูงสุด และมีเงินพอ โดยซื้อ X = 2, Y=4
จากการเปลี่ยนแปลงราคา X แสดงความสัมพันธ์ของราคาและปริมาณซื้อ X Px Qx 1 6 3 2 P 3 1 D Q 2 6
โดยใช้งบประมาณทั้งหมด การแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการเลือกบริโภคสินค้าหลายชนิด 3. สินค้ามากกว่า 2 ชนิด ผู้บริโภคจะมีความพอใจสูงสุดโดยการเปรียบเทียบอรรถประโยชน์หน่วยท้ายสุดที่ได้รับต่อราคาสินค้าชนิดนั้น ของสินค้าทุกชนิดที่เลือกบริโภค เงื่อนไขดุลยภาพของผู้บริโภค ในการบริโภคสินค้า n = ชนิด MUA = MUB = MUC = … = MUn PA PB PC Pn โดยใช้งบประมาณทั้งหมด และในกรณีที่กำหนด MU ของเงินมาให้ ดุลยภาพของผู้บริโภค คือ MUA = MUB = MUC = … = MUn = MUm PA PB PC Pn Pm โดยใช้งบประมาณทั้งหมด
การหาอุปสงค์ไขว้จากดุลยภาพการบริโภค นำความสัมพันธ์ของราคา X กับปริมาณการบริโภค Y โดยกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ มาแสดงเป็นอุปสงค์ไขว้ของ Y Px Qy 1 4 3 Px Dc 3 1 Qy 4 เส้น Dc เป็นเส้นตั้งฉาก แสดงว่าสินค้า X และ Y ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน
การหาอุปสงค์ต่อรายได้จากดุลยภาพการบริโภค นำความสัมพันธ์ของรายได้หรือเงินงบประมาณที่มี กับปริมาณการบริโภค X โดยกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ จะเป็นอุปสงค์ต่อรายได้ของ X ตัวอย่างเดิม เมื่อผู้บริโภคมีรายได้ 10 บาท ดุลยภาพเกิดขึ้นโดยซื้อ X = 2 หน่วย และ Y = 4 หน่วย หากรายได้ของผู้บริโภคเพิ่มเป็น 17 บาท ในขณะที่ราคา X และ Y ยังคงเดิม ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเปลี่ยนไป โดย บริโภค X = 4 หน่วย, Y = 5 หน่วย ใช้รายได้หมด 17 บาทพอดี นำตัวเลขในตารางมาสร้างเส้นอุปสงค์ต่อรายได้ของสินค้า X และ Y Y(รายได้) Y(รายได้) DX DY รายได้ Qx Qy 10 2 4 17 5 17 17 10 10 Px =3 ,Py = 1 Qx Qy 2 4 4 5 สินค้า X และ Y เป็นสินค้าปกติ (Normal goods)
4.1 ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) Hicks เสนอแนวคิดว่า อรรถประโยชน์ที่ได้รับจากการบริโภคสินค้าไม่สามารถนับออกมาเป็นหน่วยได้ แต่สามารถลำดับความพอใจที่ได้รับจากการบริโภคสินค้าได้ว่ามีมากน้อยกว่ากัน จึงเรียกอรรถประโยชน์แบบนี้ว่า Ordinal Utility โดยมีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve) เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ตามทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน อยู่ภายใต้สมมติฐาน 3 ประการ คือ 1. ผู้บริโภคสามารถเปรียบเทียบความพอใจและเรียงลำดับความพอใจโดยบอกได้ว่ามีความพอใจในส่วนผสมของสินค้าชุดหนึ่ง มากกว่าหรือน้อยกว่าหรือเท่ากับส่วนผสมอื่นๆ เช่น ชอบส่วนผสม A มากกว่า ส่วนผสมของ B หรือชอบส่วนผสมของ มากกว่าส่วนผสมของA หรือชอบส่วนผสมของ A เท่ากับส่วนผสมของ B 2. แบบแผนความพอใจของผู้บริโภคมีความสอดคล้องและต่อเนื่องกัน เช่น ชอบส่วนผสม A > B แต่ชอบส่วนผสม B > C แสดงว่าต้องชอบส่วนผสม A > C ด้วย 3. ส่วนผสมของสินค้าที่มีปริมาณสินค้ามากขึ้นกว่าส่วนผสมเดิม ต้องให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคในระดับที่สูงขึ้นกว่าเดิมเสมอ
4.3.1 เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve: IC) ตารางแสดงความพอใจเท่ากัน (Indifference Schedule) เป็นตารางที่แสดงส่วนผสมต่างๆ ของสินค้า 2 ชนิดที่ให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคเท่ากัน โดยสมมติให้ผู้บริโภคบริโภคสินค้า 2 ชนิด คือ X และ Y ซึ่งมีส่วนผสมของ X และ Y ในสัดส่วนต่างๆ ส่วนผสม X (หน่วย) Y (หน่วย) A 5 30 B 10 18 C 15 13 D 20 E 25 8 F 7
Y A 30 B 18 C 13 D 10 E 8 F IC 7 X 5 10 15 20 25 30 การทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด ที่ให้ระดับความพอใจเท่าเดิม เป็นไปตาม Law of Diminishing Marginal Utility คือ เมื่อบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ MU ที่ได้รับจากการบริโภคสินค้าจะลดลงเรื่อย ๆ เพราะเมื่อเริ่มบริโภค ความพอใจที่ได้รับจะสูงมาก ในหน่วยแรกๆ จึงยินดีสละสินค้าอีกชนิดหนึ่งจำนวนมากเพื่อแลกกับการบริโภคสินค้านี้ 1 หน่วย แต่เมื่อบริโภคสินค้านี้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ความพอใจที่ได้รับจะค่อยๆ ลดลง ผู้บริโภคจึงยินดีสละสินค้าอีกชนิดหนึ่งน้อยลง เพื่อแลกสินค้านี้ 1 หน่วย เส้นความพอใจเท่ากันโค้งเว้าเข้าหาจุด origin
แผนภาพความพอใจเท่ากัน (Indifference Map) เส้น IC ของผู้บริโภคคนหนึ่งจะมีได้หลายเส้นตามระดับความพอใจของผู้บริโภคที่มีหลายระดับ ชุดของเส้น IC ของผู้บริโภค เรียกว่า แผนภาพความพอใจเท่ากัน (Indifference Map) Y IC3 IC2 IC1 X
คุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากัน เส้น IC เป็นเส้นตรงหรือโค้ง ที่ทอดลงจากซ้ายไปขวา (มีความชันเป็นลบ) แสดงถึงการที่ได้สินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น ต้องเสียสละสินค้าอีกชนิดหนึ่งลดลง ความพอใจจึงจะเท่าเดิม slope ของเส้น IC เรียกว่าอัตราหน่วยท้ายสุดของการทดแทนของสินค้า 2 ชนิด (Marginal Rate of Substitution: MRS) เส้น IC ที่อยู่ทางขวามือ แสดงความพอใจของผู้บริโภคที่สูงกว่าเส้นที่อยู่ทางซ้าย เส้น IC ในแต่ละเส้นต้องต่อเนื่องกันตลอดไม่ขาดช่วง โดยกำหนดให้สินค้าสามารถแยกเป็นหน่วยย่อยในการบริโภคได้ เส้น IC มักเป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด เพราะสินค้า 2 ชนิดทดแทนกันได้แต่ไม่สมบูรณ์ ค่าความชันจะลดลงเรื่อยๆ ตามกฎการลดน้อยถอยลงของ MU คือเมื่อบริโภคสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ต้องสละสินค้าอีกชนิดหนึ่งในจำนวนที่ลดลง เส้น IC ในแผนภาพเดียวกันจะตัดกันหรือสัมผัสกันไม่ได้ Y .A .C IC2 B. IC1 X
X X อัตราหน่วยท้ายสุดของการทดแทนกันระหว่างสินค้า 2 ชนิด (Marginal Rate of Substitution: MRS) MRS หมายถึง อัตราการลดลงของสินค้าชนิดหนึ่งเมื่อได้รับสินค้าอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ทั้งนี้เพื่อรักษาระดับความพอใจให้คงเดิม MRS แสดงถึงการทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด ในทิศทางตรงกันข้ามโดยให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคเท่าเดิม MRS นี้เป็นค่า slope ของเส้น IC หากผู้บริโภคมีสินค้าให้เลือกบริโภคคือ สินค้า X และ Y สามารถเขียนค่าของ MRS ได้ 2 รูปแบบ คือ MRSYX = Y X เรียกว่า Marginal Rate of Substitution of Y for X หมายถึงบริโภคสินค้า Y ทดแทนสินค้า X คือ Y X MRSXY = Y X เรียกว่า Marginal Rate of Substitution of X for Y หมายถึงบริโภคสินค้า X ทดแทนสินค้า Y คือ X Y ค่า MRS เป็นตัวกำหนดลักษณะของเส้น IC ว่าเป็นอย่างไร
สินค้า 2 ชนิดมักทดแทนกันได้แต่ไม่สมบูรณ์ จึงมีค่า MRS ลดลงเรื่อยๆ เส้น IC เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด (convex to the origin) Y A 8 B 5 IC X 2 3 จากรูป slope ของเส้น IC เขียนได้ 2 แบบ คือ MRSXY = - Y = - 3 (A→B) X 1 MRSYX = - Y = - 3 (B→A) X 1
สินค้า 2 ชนิดสามารถทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์ ค่า MRS คงที่ เส้น IC เป็นเส้นตรงทอดลงจากซ้ายไปขวา ผู้บริโภคลดการบริโภคสินค้าชนิดหนึ่งลงในลักษณะคงที่ เพื่อให้ได้สินค้าอีกชนิดเพิ่มขึ้นทีละ 1 หน่วย Y IC X Y สินค้า 2 ชนิดไม่สามารถนำมาทดแทนกันได้เลย (ต้องใช้ประกอบกัน) ค่า MRS มี 2 ค่า คือศูนย์และอนันต์ () เส้น IC เป็นเส้นหักงอเป็นมุมฉาก 2 IC X 1
4.3.2 เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา (Budget line or Price line) หมายถึงเส้นที่แสดงให้เห็นถึงจำนวนต่าง ๆ ของสินค้า 2 ชนิด ซึ่งสามารถซื้อได้ด้วยเงินจำนวนหนึ่งตามที่กำหนดไว้ ณ ราคาตลาดในขณะนั้น ทุกๆ จุดบนเส้นงบประมาณ แสดงถึงงบประมาณที่เท่ากันของผู้บริโภคที่ใช้ซื้อสินค้า ในสัดส่วนของสินค้าแตกต่างกันไปในแต่ละจุด การสร้างเส้นงบประมาณจะต้องทราบถึงรายได้ (I) ของผู้บริโภคที่มีอยู่อย่างจำกัด และราคาสินค้า 2 ชนิด เช่น สินค้า X และสินค้า Y สมการงบประมาณ: I = (Px .X)+(Py .Y) Y I Py (Py .Y) = I – (Px . X) ● Q Slope = - Px Py Y = I – Px (X) Py Py Y ● B Slope เส้นงบประมาณ – I/Py = –Px I/Px Py ● A X ● R การเลือกบริโภคสินค้าเพื่อ Maximize Utility ต้องใช้งบประมาณหมดพอดี จุดเลือกบริโภคสินค้า 2 ชนิด จึงต้องอยู่บนเส้นงบประมาณเท่านั้น X I Px
การเปลี่ยนแปลงเส้นงบประมาณ ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง รายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง 1. ราคาของสินค้าเปลี่ยนแปลงโดยรายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่ Y Y B1 A B B2 X X B2 B B1 A Px I และ Py คงที่ Py I และ Px คงที่
2. รายได้ที่แท้จริง (real income) เปลี่ยนแปลง รายได้ที่เป็นตัวเงินเปลี่ยนแปลงโดยราคาสินค้าทั้ง 2 ชนิดไม่เปลี่ยนแปลง ราคาสินค้า 2 ชนิดเปลี่ยนแปลงในสัดส่วนเดียวกันโดยรายได้ที่เป็นตัวเงินไม่เปลี่ยนแปลง เส้นงบประมาณจะ shift ขนานกับเส้นเดิม Y A1 A A2 X B2 B B1
4.3.3 ดุลยภาพของผู้บริโภควิเคราะห์โดยทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน 4.3.3 ดุลยภาพของผู้บริโภควิเคราะห์โดยทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน ดุลยภาพของผู้บริโภค เป็นจุดซึ่งผู้บริโภคเลือกบริโภคสินค้าแล้วมีความพอใจสูงสุด (Maximize Utility) ดุลยภาพจะเกิดขึ้น ณ จุดสัมผัสของเส้นความพอใจเท่ากันกับเส้นงบประมาณ ซึ่งผู้บริโภคมีความพอใจสูงที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ภายใต้งบประมาณที่จำกัด Y ดุลยภาพการบริโภคอยู่ที่จุด E slope IC = slope budget line A E1 MRSxy = Px Py E2 ดุลยภาพการบริโภคอยู่ที่อัตราการทดแทนหน่วยท้ายสุดของสินค้า มีค่าเท่ากับอัตราส่วนของราคาสินค้า E Y IC3 IC2 IC1 X X B
เมื่อเส้น IC เป็นเส้นหักงอเป็นมุมฉาก ในกรณีที่เส้น IC ไม่ใช่เส้นที่โค้งเว้าเข้าหา origin ดุลยภาพของการบริโภคก็ยังคงเกิดที่จุดสัมผัสของ IC และ budget line เช่นกัน เมื่อเส้น IC เป็นเส้นหักงอเป็นมุมฉาก Y A Y IC2 E IC1 X X B สินค้า 2 ชนิดนี้ทดแทนกันไม่ได้เลย
เมื่อเส้น IC เป็นเส้นตรง Y Y A E A IC3 IC2 IC3 IC2 IC1 IC1 E X X B B สินค้า 2 ชนิดนี้ทดแทนกันสมบูรณ์ ดุลยภาพ: Corner solution
หาระดับการบริโภคจากเงื่อนไขดุลยภาพ หากมีค่า MRS และราคาของสินค้า 2 ชนิด สามารถหาดุลยภาพการบริโภคได้ เงื่อนไขดุลยภาพ => MRSXY = - Px PY หรือ Y = - Px X Py ตัวอย่าง ผู้บริโภคมีรายได้ 100 บาท Px = 10 บาท และ Py = 5 บาท และมีข้อมูลการบริโภคดังตาราง - Px/Py = 10/5 = -2 ส่วน สินค้า X สินค้า Y MRSXY ผสม QX QX QY QY (-Y/X) a 1 - 24 b 2 19 5 -5 c 3 15 4 -4 d 12 -3 e 10 -2 f 6 9 -1 ผู้บริโภคจะบริโภค X=5 หน่วย บริโภค Y=10 หน่วย ใช้เงิน = 50+50 = 100 บาท
4.3.4 การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผู้บริโภค 4.3.4 การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผู้บริโภค ดุลยภาพของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงได้จาก ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงโดยรายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่ รายได้ที่แท้จริงเปลี่ยนแปลง 1. ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงโดยรายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่ เมื่อราคาสินค้า X เปลี่ยนแปลงโดยราคาสินค้า Y และ I คงที่ (Px , Py และ I คงที่) Y เมื่อ Px ลดลง ในกรณีนี้ ซื้อ X เพิ่มขึ้น ตามกฎอุปสงค์ ซื้อ Y ลดลง แสดงว่า Y เป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกันกับ X A Y E E1 Y1 IC1 IC0 X X X1 B B1
การเปลี่ยนแปลงการบริโภค Y จะเป็นอย่างไร เมื่อราคาสินค้า X เปลี่ยนแปลงไป ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของ X และ Y ดังนี้ สินค้าทดแทนกัน : PX และ QY สัมพันธ์ทิศทางเดียวกัน Px (Q) Qy Px (Q) Qy สินค้าประกอบกัน : PX และ QY สัมพันธ์ในทิศทางตรงข้าม Px (Q) Qy Px (Q) Qy สินค้าที่ไม่เกี่ยวข้องกัน : PX และ QY ไม่สัมพันธ์กัน Px (Q) Qy Px (Q) Qy
ในกรณีนี้ ซื้อ Y เพิ่มขึ้น ตามกฎอุปสงค์ 2) เมื่อราคาสินค้า Y เปลี่ยนแปลงโดยราคาสินค้า X และ I คงที่ (Py , Py และ I คงที่) เมื่อ Py ลดลง ในกรณีนี้ ซื้อ Y เพิ่มขึ้น ตามกฎอุปสงค์ ซื้อ X ลดลง แสดงว่า Y เป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกันกัน Y Y B1 Y1 E1 B IC1 E Y IC0 X X1 X A
2. รายได้ที่แท้จริงเปลี่ยนแปลง โดยราคา X และราคา Y คงเดิม (I , Px และ Py คงที่) เมื่อ I เพิ่มขึ้น ในกรณีนี้ ซื้อ X และ Y เพิ่มขึ้น แสดงว่า X และ Y เป็นสินค้าปกติ Y A1 การเปลี่ยนแปลงการบริโภคสินค้า 2 ชนิด จะเป็นอย่างไร เมื่อรายได้ที่แท้จริงเปลี่ยนแปลงไป ขึ้นอยู่กับว่าสินค้า 2 ชนิด เป็นสินค้าประเภทใด A E1 Y1 E Y IC1 IC0 X X X1 B B1 สินค้าปกติ : รายได้แท้จริงกับ Q เปลี่ยนทิศทางเดียวกัน สินค้าด้อยคุณภาพ : รายได้ที่แท้จริงกับ Q มีทิศทางตรงข้าม Ir Qx Qy Ir Qx Qy
4.3.5 การสร้างเส้นอุปสงค์ของผู้บริโภคจากดุลยภาพ 4.3.5 การสร้างเส้นอุปสงค์ของผู้บริโภคจากดุลยภาพ โดยทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน เส้นอุปสงค์ของผู้บริโภคที่สร้างจากดุลยภาพมี 3 กรณี คือ Price Demand : พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพเมื่อราคาสินค้าที่พิจารณาเปลี่ยนแปลงโดยกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ Income Demand : พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของดุลยภาพเมื่อรายได้ที่แท้จริงเปลี่ยนแปลง โดยกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ Cross Demand : พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ เมื่อราคาสินค้าอื่นเปลี่ยนแปลง โดยกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่
อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) Y อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) IC2 IC3 IC1 A PX P1 P2 P3 QX X1 X2 X3 E1 E3 E2 PCC X X1 X2 B1 X3 B2 B3 P PCC = Price Consumption Curve เส้นการบริโภคตามราคา P1 P2 P3 D X X1 X2 X3
2. อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) Y 2. อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) A3 A2 ICC A1 Y QX I1 X I2 X1 I3 X2 E2 E1 E IC3 IC2 IC1 X X X1 X2 B1 B2 B3- Y DI I3 ICC = Income Consumption Curve เส้นการบริโภคตามรายได้ I2 I1 X X X1 X2
เส้นอุปสงค์ต่อรายได้อาจมี slope เป็นบวกหรือลบก็ได้ขึ้นอยู่กับว่าสินค้านั้นเป็นสินค้าประเภทใด Ir Q (ในที่นี้ Ir = Real Income) Ir Q slope เป็นลบ : => สินค้าด้อยคุณภาพ Ir Q Ir Q
สินค้า X และ Y เป็นสินค้าปกติ รายได้ รายได้ A1 Dx ICC Dy A E1 Y2 I2 I2 E IC2 I1 Y1 I1 IC1 X Y X Y1 Y2 X1 X2 B B1 X1 X2
สินค้า X เป็นสินค้าปกติ สินค้า Y เป็นสินค้าด้อยคุณภาพ รายได้ รายได้ A1 Dx IC0 A IC1 I2 I2 I1 I1 Y1 E E1 Y2 ICC Dy X X Y X1 X2 B B1 X1 X2 Y2 Y1
3. อุปสงค์ไขว้ (Cross Demand) หาอุปสงค์ไขว้ของสินค้า Y เมื่อ Px เปลี่ยนไป โดย Py และ I คงเดิม สินค้า X และ Y ไม่เกี่ยวข้องกัน PX DC PX QY 10 6 20 20 10 QY 6
สินค้า X และ Y เป็นสินค้าประกอบกัน PX QY 5 7 8 Y PX A PCC 7 E 8 IC0 5 E1 5 DC IC1 X QY 8 10 B1 B 5 7
สินค้า X และ Y เป็นสินค้าที่ทดแทนกัน PX QY 5 6 8 7 Y PX A DC 8 E1 7 E 6 PCC 5 IC0 IC1 X QY 5 B1 9 B 6 7
ความพอใจส่วนเกินของผู้บริโภค : (Consumer’s Surplus) PX QX 10 1 8 2 6 3 4 5 หากระดับราคาสินค้า X อยู่ที่ PX = 4 ผู้บริโภคซื้อ X = 4 หน่วย จ่ายค่าสินค้า X ไป = 4 4 = 16 บาท ส่วนเกินของผู้บริโภค = 28–16 = 12 บาท
ส่วนเกินของผู้บริโภค เป็นพื้นที่ใต้เส้นอุปสงค์ที่อยู่เหนือราคาที่ซื้อ ส่วนเกินของผู้บริโภค = OAEQ – OPEQ = APE ความสัมพันธ์ของ P และส่วนเกินของผู้บริโภค จะมีทิศทางตรงข้าม P A consumer’s surplus E P D Q Q B ส่วนเกินของผู้บริโภค เป็นพื้นที่ใต้เส้นอุปสงค์ที่อยู่เหนือราคาที่ซื้อ