บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 8 ตำบทพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ประเด็นการตรวจติดตาม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
ทัศนศึกษาโครงการส่วนพระองค์สวนจิตลดา
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
การศึกษาดูงานด้านการเพาะเลี้ยงและการส่งเสริมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ผู้นำหมู่บ้านและเกษตรกรหมู่บ้านเป้าหมายสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ครั้งที่ 1) ภายใต้โครงการพัฒนาการเลี้ยงปลาในชนบทแขวงจำปาสักและแขวงเซกอง.
โครงการตามพระราชดำริฯ ในพื้นที่จังหวัดน่าน โครงการเกษตรที่สูง
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครพนม
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการขยายผลการเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งในแม่น้ำตากใบสืบเนื่องมาจากพระราชดำริ (ในสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ) ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส.
ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนราธิวาส
ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านหมี่ ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
ผลการปฏิบัติงาน สำนักงานเกษตรอำเภอศรีนคร เดือน กุมภาพันธ์ 2554
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
ข้าวแต๋น.
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การฝึกงาน องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ. หนองวัวซอ จ
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
จำนวนศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ในพื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต4
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
กิจกรรม อ. ช. ท ห้อง ท. ผ 502 วิทยาลัยลำปาง เทคโนโลยี
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
By Supach Futrakul. By Supach Futrakul ณ หมู่บ้านแห่งหนึ่งมีเป็นหมู่บ้านที่จนมากอยู่บนภูเขาที่มีความแห้งแล้งมาก.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
การผลิตข้าวฮาง บ้านนาแก หมู่ที่ 7 ตำบลนาแก อำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู การแช่ข้าวเปลือก นำเมล็ดข้าวเปลือกมาล้างทำความสะอาดเพื่อเอาสิ่งเจือปนออก แช่เมล็ดข้าวเปลือกในน้ำนาน.
โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือน มิถุนายน ๒๕๕๔ สำนักงานเกษตรอำเภอเมือง หนองบัวลำภู
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 8 ตำบทพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร วัฒนธรรมแอ่งสกลนคร นักศึกษาโปรแกรมสัตวบาลปี 4 กรณีศึกษาเรื่องการเลี้ยงโคนมและการรีดนม บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 8 ตำบทพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร

-2518 มีการเริ่มเลี้ยงโคนม โดยมีผู้ริเริ่ม 3คน คือ นายคำพอง กลยณี นายแถว ชัยโยธา และนายเทพ แนวคิดที่เริ่มเลี้ยงโคนมมีอยู่ว่า เห็นอยู่ในทีวีเลยคิดอยากเลี้ยง และได้ไปซื้อโคจากกรมบำรุงพันธุ์สัตว์โดยรีดใส่ขวดประมาณตัวละ10 ลิตร โดยขายเร่ตามหมู่บ้าน โดยขายลิตรละ 6 บาท จากนั้นก็เริ่มมีคนสนใจเริ่มเลี้ยง โดยมีนายคำพองเป็นหัวหน้ากลุ่ม -2528 นายหลวงทรงเสด็จมาและมีพระราชดำริให้จัดตั้งโรงนมเพื่อรองรับผลผลิตจากเกษตรกร

ครั้งแรกที่จัดตั้งกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในบ้านโนนสวรรค์ประมาท 4-5 คน ซึ่งได้รับการอบรมจากจังหวัดขอนแก่น ต่อมาชาวบ้านก็ได้ก่อตั้งศูนย์โคนมขึ้นในปี พ.ศ. 2528 ซึ่งการรีดนมสมัยนั้นจะเป็นการรีดด้วยมือและบรรจุขวดส่งขายตามบ้านที่สั่งซื้อทำแบบนี้ประมาท 2-3ปี หลังจากนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 ได้มีโครงการจากสมเด็จพระเทพให้ก่อตั้งศูนย์โคนมขึ้น

จากนั้นสมาชิหมู่บ้านเริ่ม สนใจในการเลี้ยงโคนมมากขึ้น โดยได้พันธุ์มาจากกรมปศุสัตว์ พันธุ์ที่เลี้ยงกันคือพันธุ์โฮสไตร์ฟรีเชี่ยน

ลักษณะโรงเรือนที่พบในหมู่บ้าน

อาหารที่ใช้ในการเลี้ยงโคนม - อาหารข้น - อาหารหยาบ อาหารข้น คือ อาหารสำเร็จรูปที่ซื้อกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตอาหารสัตว์บ้านโนนสวรรค์ -อาหารหยาบ คือ หญ้าแห้ง หญ้าสด ฟางข้าว

ลักษณะของอาหารข้น

การจัดการเลี้ยงดู -ให้ อาหาร 2 เวลาเช้าเย็น

การรีดจะทำการรีด 2 ครั้ง รอบเช้าเวลาตี 4 รอบเย็น เวลาบ่าย 3 โมงเย็น การรีดนม การรีดจะทำการรีด 2 ครั้ง รอบเช้าเวลาตี 4 รอบเย็น เวลาบ่าย 3 โมงเย็น

การรีดนมมี 2 วิธีคือการรีดด้วยมือ กับการรีดด้วยเครื่องรีดนม -วิธีการรีดด้วยมือ เริ่มจากการล้างทำความสะอาดแม่โค

การเช็ดทำความสะอาดเต้านม

วิธีการรีดนม

น้ำนมดิบที่ได้ประมาณ 6 กิโลกรัมต่อการรีดหนึ่งครั้ง

นำนมไปส่งที่ศูนย์รวมนมภูพาน

จะมีเจ้าหน้าที่รอตรวจคุณภาพของน้ำนม

เจ้าหน้าที่จะนำนมดิบที่ได้ไปผลิตเป็นนมถุงภูพาน

คุณค่าทางวัฒนธรรมในการศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษาเรื่อง การเลี้ยงโคนมของชาวโนนสวรรค์ 1.ทำให้มีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นของชุมชนมากยิ่งขึ้น 2.เป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมประจำท้องถิ่น 3.สามารถนำสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นรายได้ 4.เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าของคนที่สนใจ

ขอขอบคุณผู้ใหญ่ ชาวบ้าน นักปราชญ์ บ้านโนนสวรรค์ทุกท่าน