Knowledge Management (KM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
Learning Organization PSU.
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
LEARNING ORGANIZATION
การวิจัยการศึกษา.
Learning Organization
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
Communities of Practice (CoP)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
อาจารย์ ดร.ฐิติพร ชมภูคำ กรรมการและเลขานุการหลักสูตร MBA
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Theory in Knowledge Management (KM 701)
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กระบวนการวิจัย Process of Research
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
การเขียนรายงานผลการวิจัย
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้ Knowledge Management (KM)

What is knowledge Management? ความรู้ คือ บทสรุปของความเข้าใจ เนื้อหาเป็นความจริง ผ่านการพิสูจน์และทดลอง สามารถตั้งเป็นกฎ นำไปปฏิบัติงานได้จริง หรือ สามารถนำไปประกอบการตัดสินใจ รวมทั้งสามารถทำนายผลได้ What is knowledge Management? การจัดการความรู้ คือ การดึงเอาความรู้ที่กระจัดกระจาย ฝังอยู่ทั่วไปภายในองค์กร ออกมารวบรวม และแบ่งกลุ่ม จัดเก็บให้เป็นองค์ความรู้ขององค์กร เพื่อเป้าหมายในการพัฒนาสู่ องค์กรแห่งการเรียนรู้ต่อไป

การจัดการความรู้...คือ การรวบรวม การจัดระบบ การจัดเก็บ และการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้ มีการแบ่งปัน และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้แก่องค์กร

การจัดการความรู้ ต้องดำเนินการในลักษณะที่บูรณาการอยู่ในกิจกรรมหรืองานประจำ ต้องไม่ทำให้สมาชิกขององค์กรรู้สึกว่ามีภาระเพิ่มขึ้น

ทำไมองค์กรจึงต้องมีการจัดการความรู้ “เพื่อความได้เปรียบทางธุรกิจ”

ความรู้ 4 ระดับ 1. Know-what 2. Know-how 3. Know-why 4. Care-why เป็นความรู้เชิงทฤษฎี จบมหาวิทยาลัยใหม่ๆ เป็นความรู้เชิงปฏิบัติ จบมหาวิทยาลัย 2-3 ปี เป็นความรู้เชิงเหตุผล มีการวิเคราะห์ แลกเปลี่ยนความรู้ เป็นความรู้เชิงสร้างสรรค์ คิดริเริ่มสิ่งใหม่ๆ ด้วยตนเอง

Type of Knowledge Tacit Knowledge: คือ ความรู้ที่มีอยู่ในแต่ละบุคคลที่ได้มาจากประสบการณ์และความสามารถส่วนตัว ยากที่จะเขียนหรืออธิบายออกมาได้ เช่น ให้บอกวิธีในการว่ายน้ำ,วิธีการวาดรูปให้สวย, วิธีการตอบสนองต่อปัญหาเฉพาะหน้าใดๆ ที่เกิดขึ้น Embedded Knowledge: คือ ความรู้ที่ฝังอยู่ภายในองค์กร Explicit Knowledge: คือ ความรู้ที่สามรถอธิบายหรือเขียนออกมาได้โดยง่าย เช่น คู่มือการปฏิบัติงาน หรือ วิธีการใช้เครื่องมือต่างๆ

Knowledge Transfer Process Tacit to Explicit Explicit to Tacit Individual to Organization Organization to Individual

วงจรการบริหารจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) Sharing Understanding Classification Capture Tacit Knowledge Explicit Knowledge Collaboration Discovery From Individual to Organization Knowledge From Organization to Individual Knowledge

วงจรการบริหารจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) Sharing คือ การสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างบุคคล ทั้งเป็นทางการและอย่างไม่เป็นทางการเช่น การพบปะ พูดคุยกับเพื่อนพนักงาน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งจะสามารถสื่อความรู้และประสบการณ์ที่แฝงอยู่ภายในบุคคล(Tacit)ได้ Capture คือ การรวบรวมความรู้ต่างๆ ที่ได้รับมา(Collaboration)แล้วแปลความให้กลายมาเป็นความรู้ใหม่ของตนเองและสามารถเขียนหรืออธิบายออกมาได้ Classification คือ การนำความรู้ที่ได้มาเขียนอธิบาย(Explicit)เพื่อเผยแพร่สู่องค์กร โดยแบ่งกลุ่มความรู้อย่างชัดเจน และกระจายความรู้ถูกกลุ่มเป้าหมาย(From Individual to Organization Knowledge) Understanding คือ การที่สมาชิกในองค์กรได้รับความรู้ที่เผยแพร่มา แล้วนำไปปฏิบัติจนเข้าใจเป็นความรู้ของตนเอง(From Organization to Individual Knowledge) และนำไปสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้(Sharing)เพื่อนำไปสู่การเกิดความรู้ใหม่ต่อไป

การจัดการความรู้ต้องคำนึงถึง? ความรู้และทักษะของพนักงาน ระบบเทคโนโลยี ระบบการจัดการ วัฒนธรรมองค์กร

พื้นฐานสำคัญในการจัดการความรู้ คือ ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Leraning Organization) สมาชิกขององค์กรเป็นบุคคลเรียนรู้ ( Learning Person)

แก่นขององค์กรการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับ “วินัยการเรียนรู้” 5 ประการ เรียนรู้ที่จะทำงานร่วมกัน Team Learning สร้างวิสัยทัศน์ร่วม Shared Vision เป็นทีม Team คิดอย่างเป็นระบบ System Thinking แต่ละบุคคล Individual พัฒนากรอบความคิด Mental Model พัฒนาตนให้สมบูรณ์ Personal Mastery กรอบความคิด Thinking การปฏิบัติ Action

จุดอ่อนของการจัดการความรู้ที่พบทั่วไป การดำเนินการ(สร้าง แลกเปลี่ยน ประยุกต์ใช้ ความรู้) ทำแบบมวยวัด ไม่มีหลักเกณฑ์ การตัดสินใจมักกระทำโดยไม่ได้ใช้ความรู้ที่ดีที่สุดที่มีอยู่ในองค์กร ความรู้ที่มีอยู่ไม่ได้ถูกใช้ซ้ำ ไม่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ สมาชิกขององค์กรอยู่ภายใต้สภาพข้อมูล (Information) ท่วมท้น เกิดความสับสน การปกปิดความรู้ระหว่างสมาชิกในองค์กร

การจัดการความรู้ทำอย่างไร กำหนดองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการแข่งขันและความอยู่รอดขององค์กร (Value & Risk) การสร้างและการจัดการต้องทำเป็นทีม มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ มีการใช้องค์ความรู้ให้เป็นประโยชน์ต่อองค์กร

องค์ประกอบของการจัดการความรู้ ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความฉลาดรอบรู้ (Wisdom) ความรู้ (Knowledge) ปฏิบัติการ (Action)

สรุป KM คือกระบวนการรวบรวม จัดเก็บ แบ่งปัน และใช้ประโยชน์จากความรู้และประสบการณ์ของพนักงาน และกระบวนการต่างๆ ในการปฏิบัติงานขององค์กร ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมถึงการส่งเสริมให้พนักงานได้คิดค้นสิ่งใหม่ๆ หรือนวัตกรรมให้เกิดขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อธุรกิจในอนาคต