Quadratic Functions and Models

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
Chapter 1 Functions and Their Graphs 1. 6 – 1
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ลิมิตและความต่อเนื่อง
การดำเนินการของลำดับ
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
พาราโบลา (Parabola).
บทที่ 4 การจำลองแบบทางคณิตศาสตร์
ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล
ความเท่ากันทุกประการ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
Points, Lines and Planes
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาปริพันธ์ (Integration)
Functions and Their Graphs
Function and Their Graphs
คำศัพท์บทที่ 1 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงพัฒน จัดทำโดย นางสาวมานิตา จันแก่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 22 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วงรี ( Ellipse).
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
คลังคำศัพท์ PRECALCULUS
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
พาราโบลา (Parabola).
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.1 วงกลม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Quadratic Functions and Models ฟังก์ชันพหุนามและการใช้เหตุผล กราฟฟังก์ชันประกอบด้วย - ฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรง (Linear Function) - ฟังก์ชันคงตัว (Constant Function) - ฟังก์ชันกำลังสอง (Squaring Function)

ฟังก์ชัน ฟังก์ชัน คือ  ความสัมพันธ์ระหว่าง y และ x ในเซตที่มีลักษณะแบบหนึ่งต่อหนึ่ง เราเรียกความสัมพันธ์แบบนี้ว่า ฟังก์ชัน (Function) โดยหาก y เป็นฟังก์ชันของ x จะมีความหมายว่า y สัมพันธ์กับ x ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น

ฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรง (Linear Function) ฟังก์ชันที่เป็นเส้นตรง คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = f(x) = ax+b เมื่อ a,b เป็นจำนวนจริงและ a≠0 กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน Y มีความชันเท่ากับ a และมีระยะตัดแกน Y (Y – intercept)เท่ากับ b

ฟังก์ชันคงตัว (Constant Function) ฟังก์ชันคงตัว หมายถึง ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = f(x) = c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง กราฟของฟังก์ชันคงตัว จะเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน X โดยจะมีระยะตัดแกน Y (Y - intercept) เท่ากับ c

ฟังก์ชันกำลังสอง (Squaring Function) ฟังก์ชันกำลังสอง หมายถึง ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax2 + bx +c เมื่อ a,b และ c เป็นจำนวนจริงใดๆและ a ≠ 0 กราฟของฟังก์ชันกำลังสองนี้จะขึ้นอยู่กับค่าของ a,b และ c โดยเฉพาะ ถ้าค่า a เป็นบวกแล้วได้กราฟเป็นรูปพาราโบลาหงายขึ้น ถ้าค่า a เป็นลบแล้วได้กราฟเป็นรูปพาราโบลาคว่ำลง

Parabola ผู้คิดเรื่องพาลาโบลาคือ กาลิเลโอ (อิตาลี: Galileo Galilei; 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 - 8 มกราคม ค.ศ. 1642)   เป็นนักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์   นักดาราศาสตร์ และนักปรัชญาชาวทัสกันหรือชาวอิตาลี ซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่ง เขาได้ค้นพบว่า  เมื่อเราโยนวัตถุขึ้นในอากาศ  เส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้นจะมีลักษณะเป็นเส้นโค้ง ในทางคณิตศาสตร์เรียกเส้นโค้งที่มีลักษณะนี้ว่า   พาราโบลา บทนิยาม : พาราโบลาคือเซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรงที่เส้นหนึ่งบนระนาบและจุดคงที่จุดหนึ่งบนระนาบนอกเส้นตรงคงที่นั้น เป็นระยะทางเท่ากันเสมอ

ส่วนประกอบของพาราโบลา เส้นคงที่ เรียกว่า ไดเรกตริกซ์ของพาราโบลา จุดคงที่ (F) เรียกว่า โฟกัสของพาราโบลา แกนของพาราโบลา คือเส้นตรงที่ลากผ่านโฟกัส และตั้งฉากกับไดเรกตริกซ์ จุดยอด (V) คือจุดยอดที่พาราโบลาตัดกับแกนของพาราโบลา เลตัสเรกตัม (AB) คือส่วนของเส้น ตรงที่ผ่านโฟกัส และ มีจุดปลายทั้ง สองอยู่บนพาราโบลา และตั้งฉากกับ แกนของพาราโบลา เส้นตรงที่ผ่านจุดโฟกัส และตั้งฉากกับไดเรกตริกซ์ เรียกว่า แกนของพาราโบลา

จัดทำโดย นางสาว วัชโรทัย มะมา เสนอ อาจารย์ ชัยสิทธิ์ พงษ์พัฒน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก