การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
บทนำ แบบจำลองข้อมูล (Data Model) จะใช้อธิบายเกี่ยวกับข้อมูลต่าง ๆ ที่สนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจในองค์กร นักวิเคราะห์ระบบจะโฟกัสเพียงว่ามีข้อมูลอะไรบ้างในกระบวนการทางธุรกจ แบบจำลองข้อมูล จึงจัดเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการนำเสนอให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล และโดยมักนำเสนอในรูปแบบของไดอะแกรมที่เรียกว่า แผนภาพอีอาร์ หรืออีอาร์ไดอะแกรม (Entity Relationship Diagram: ERD)
อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram) ใช้พื้นฐานหลัก ๆ 3 ประการ คือ เอ็นติตี้ (Entities), ความสัมพันธ์ (Relationships) และแอตตริบิวต์ (Attributes) เอ็นติตี้ (Entities) คือบุคคล สถานที่ วัตถุ และรวมถึงเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดกลุ่มของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ ตัวอย่างเอ็นติตี้ เช่น บุคคล (Persons) เช่น ลูกค้า พนักงาน นักศึกษา ร้านค้า แผนกการเงิน สถานที่ (Place) เช่น อาคาร ห้องเรียน สาขา วัตถุ (Objects) เช่น หนังสือ เครื่องจักร สินค้า วัตถุดิบ เหตุการณ์ (Events) ใบอินวอยซ์ รายการลงทะเบียน แนวความคิด (Concepts) เช่น บัญชี พันธบัตร หุ้น
อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram) ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นติตี้ จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติในกระบวนการทางธุรกิจ ซึ่งความสัมพันธ์จะนำเสนอด้วยเหตุการณ์เชื่อมโยงระหว่างเอ็นติตี้ ประกอบไปด้วยความสัมพันธ์คือ 1. One to One 2. One to Many 3. Many to Many
อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram)
อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram) แอตตริบิวต์ (Attributes) คือ คุณสมบัติของเอ็นติตี้ โดยสัญลักษณ์แอตตริบิวต์ในอีอาร์ไดอะแกรมจะใช้สัญลักษณ์รูปวงรี และแอตตริบิวต์ใดที่เป็นคีย์หลัก ก็จะมีการขีดเส้นใต้กำกับใต้ชื่อแอตตริบิวต์นั้น ชื่อ รหัสลูกค้า นามสกุล ที่อยู่ เพศ ลูกค้า
อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram)
พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) คือ เอกสารที่ใช้อธิบายรายละเอียดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และรวมถึงรายการข้อมูลประกอบต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วยชื่อรีเลชัน (Relation Name), แอตตริบิวต์ (Attribute), ชื่อแทน (Aliases name), รายละเอียดข้อมูล (Data Description), แอตตริบิวต์โดเมน (Attribute Domain), การเรียงลำดับดัชนี (Index), คีย์หลัก (Primary Key), คีย์นอก (Foreign Key), ชนิดข้อมูล (Data Type) รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับ แหล่งที่เกิดข้อมูล, วันที่สร้างแฟ้มข้อมูล, ผู้ใช้ระบบ, สิทธิการใช้งานแฟ้มข้อมูล, ความถี่ในการใช้งาน
พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ตัวอย่างพจนานุกรมข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลของระบบเช่ารถ
การนอร์มัลไลเซชัน (Normalization) เป็นกระบวนการนำโครงร่างรีเลชัน (Relation) มาแตกเป็นรีเลชันหรือตาราง ต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า รูปแบบบรรทัดฐาน หรือ Normal Form โดยมีเป้าหมายหลักสำคัญคือ เพื่อให้รีเลชันที่ได้มานั้นอยู่ในรูปแบบบรรทัดฐานที่เหมาะสม โดยจดประสงค์ของการนอร์มัลไลเซชัน คือ ลดเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล เพื่อลดความซ้ำซ้อน (Redundancy) ในข้อมูล ลดปัญหาความไม่ถูกต้องของข้อมูล
แบบฟอร์มที่ยังไม่มีการนอร์มัลไลซ์ (Un-Normalized Form)
แบบฟอร์มที่ยังไม่มีการนอร์มัลไลซ์ (Un-Normalized Form)
การนอร์มัลฟอร์มระดับที่ 1 (First-Normalized Form)
การนอร์มัลฟอร์มระดับที่ 2 (Second-Normalized Form)
การนอร์มัลฟอร์มระดับที่ 3 (Third-Normalized Form)
Q&A