คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ๒. เพื่อให้หน่วยให้ความสำคัญกับการวัดความพึงพอใจ.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด3 11 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
เส้นทางสู่ “ ข้อมูลแข็งแรง ” ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
LOGO ศูนย์อนามัย ที่ 6. LOGO ศูนย์อนามัย ที่ 6 ประเด็นสำคัญที่จะ พัฒนาภายในเดือน พ. ค. – ก. ย ) กำหนดกระบวนงานของศูนย์อย่าง.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การกำหนด การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
LOGO ศูนย์อนามัย ที่ 6. LOGO ศูนย์อนามัย ที่ 6 ประเด็นสำคัญที่จะ พัฒนาภายในเดือน พ. ค. – ก. ย ) กำหนดกระบวนงานของศูนย์อย่าง.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 6 : ระดับความสำเร็จ ของการจัดการข้อมูล สินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้

คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของกรมอนามัย หมายถึง การวัดความสำเร็จของการดำเนินการ ปรับปรุงฐานข้อมูลของสินค้าและบริการ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (C/SH) ของ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 มาตรฐานการให้บริการ หมายถึง คู่มือการปฏิบัติงาน ของบุคลากรในการให้บริการ ซึ่งประกอบด้วยแผนภูมิ การให้บริการ (Flow chart) รายละเอียดการบริการ และระยะเวลาการให้บริการแต่ละขั้นตอน เป็นต้น

คำอธิบาย (ต่อ) งานบริการของกรมอนามัย หมายถึง งานตาม ภารกิจของกรมอนามัยที่ให้บริการแก่บุคคลภายนอก หน่วยงาน เช่น กระบวนการบริการรับรองมาตรฐาน การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง บุคคลที่ อยู่ภายนอกหน่วยงานของตน (รวมถึง สำนัก /กอง/ ศูนย์ /กลุ่ม ในสังกัดกรมอนามัย) เช่น บริการด้านสาร บรรณของสำนักงานเลขานุการกรม มีเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานสารบรรณของทุกหน่วยงานในสังกัดกรม เป็นผู้รับบริการ ทุกหน่วยงานต้องจัดทำคำรับรองฯ ตัวชี้วัดนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ประเด็นการประเมินผล คะแนน 1 การจัดทำฐานข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงาน 35   1.1 มีการวิเคราะห์ และปรับปรุงข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงาน อย่างครอบคลุม ครบถ้วน และทันสมัย (20) 1.2 มีการสำรวจหรือรวบรวมข้อมูลความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อสินค้าและบริการของหน่วยงาน (15) 2 การจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) 25 2.1 มีส่วนร่วมในการจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) ในกระบวนงานของกรมอนามัย 2.2 มีการจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน อย่างน้อย 1 กระบวนงาน (10) 3 การสร้างการมีส่วนร่วมและกิจกรรมสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย (C/SH) ของหน่วยงาน 20 3.1 มีการเปิดโอกาสให้ C/SH และ/หรือประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในกิจกรรมของหน่วยงาน และมีการสรุปผล/เผยแพร่ให้ C/SH ทราบ

เกณฑ์การให้คะแนน(ต่อ) ขั้นตอนที่ ประเด็นการประเมินผล คะแนน   3.2 มีการจัดกิจกรรมสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างน้อย 1 กิจกรรม (ตามแนวทางของ SOP กระบวนงานสร้างการมีส่วนร่วมฯ ของกรมอนามัย) (10) 4 การประเมินความพึงพอใจ การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และคำชมเชยของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของหน่วยงาน (ตาม SOP การจัดการข้อร้องเรียนฯ ของ กรมอนามัย) 20 4.1 มีการประเมินความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อสินค้าและบริการของหน่วยงาน 4.2 มีการจัดการและรายงานข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น และ คำชมเชยที่มีถึงหน่วยงาน ให้สำนักงานเลขานุการกรมทราบ ภายในวันที่ 25 ของเดือนนั้น (ตามแบบฟอร์ม Complaint_01 และ Complaint_02) โดยส่งทางอีเมล์ patcharee.t@anamai.mail.go.th หรือpimmada.r@anamai.mail.go.th โดยสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ URL ด้านล่างนี้ http://osc.anamai.moph.go.th/main.php?filename=PMQA_2556 รวมคะแนน 100

หลักฐานอ้างอิง ขั้นตอนที่ 1 การจัดทำฐานข้อมูลสินค้าและบริการ C/SH 1. ชื่อฐานข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย (หากเก็บข้อมูลในเว็บไซต์ โปรดระบุ URL) 2. รายงานสรุปการสำรวจหรือรวบรวมข้อมูลความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อสินค้าและบริการของหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) 1. รายงานผลการมีส่วนร่วมของหน่วยงานในการจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) ในกระบวนงานของกรมอนามัย (ข้อมูลจากสำนักงานเลขานุการกรม) 2. รายงานการจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน อย่างน้อย 1 กระบวนงาน

หลักฐานอ้างอิง (ต่อ) ขั้นตอนที่ 3 การสร้างการมีส่วนร่วมและกิจกรรมสัมพันธ์กับ (C/SH) ของหน่วยงาน รายงานสรุปผลการดำเนินการ เช่น - ชื่อโครงการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม - สถานที่/ระยะเวลาดำเนินงาน - ขั้นตอน/กิจกรรมการดำเนินงานที่ประชาชนมีส่วนร่วม - ภาพถ่ายกิจกรรม - ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ

หลักฐานอ้างอิง (ต่อ) ขั้นตอนที่ 4 การประเมินความพึงพอใจ การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และคำชมเชย 1. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีต่อสินค้าและบริการของหน่วยงาน 2. ส่งรายงาน Compliant ให้สำนักงานเลขานุการกรม ภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน ทางอีเมล์ 2.1 กรณีที่มีข้อร้องเรียน รายงาน Compliant_01 Compliant_02 2.2 กรณีที่ไม่มีข้อร้องเรียน รายงาน Compliant_02 หรือบันทึกข้อความ โดยระบุว่าไม่มีข้อร้องเรียน

Thank You