มาตรฐาน/แนวทาง การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคมาลาเรีย ไข้ปวดข้อยุงลาย เท้าช้าง
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด พิจารณาจาก:- แนวทางการควบคุมโรคมาลาเรียสำหรับเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขปี 2552 2. พื้นที่การปฏิบัติงาน แบ่งเป็น 2.1 พื้นที่ภายใต้โครงการควบคุมโรคมาลาเรีย (Vertical Programme) 2.2 พื้นที่ผสมผสานงานเข้าสู่จังหวัด (Integrated provinces)
ผสมผสานงานเข้าสู่จังหวัด มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด พื้นที่ ภายใต้โครงการควบคุม ผสมผสานงานเข้าสู่จังหวัด 1.มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย 1.1 มาตรการต่อยุง 1.1.1 ร้อยละของบ้านที่ได้รับการพ่นเคมีที่มีฤทธ์ตกค้าง 1.1.2 ร้อยละของหลังคาเรือนที่มีมุ้งชุบสารเคมีอย่างน้อย 1 หลัง 1.2 มาตรการต่อเชื้อ 1.2.1 อัตราการเจาะโลหิต (ABER) 1.2.2 ร้อยละของการติดตามผลการรักษา 1.2.3 ร้อยละของความรวดเร็วในการรักษา 1.3 มาตรการต่อคน 1.3.1 ร้อยละของคน / ประชาชนที่ได้รับความรู้จากสื่อสุขศึกษาและประชาสัมพันธ์
ผสมผสานงานเข้าสู่จังหวัด มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด พื้นที่ ภายใต้โครงการควบคุม ผสมผสานงานเข้าสู่จังหวัด 2.มาตรฐานงานชันสูตร 2.1 คะแนนการประเมินสมรรถนะของเจ้าหน้าที่ตรวจบำบัด 2.2 ร้อยละความถูกต้องในการตรวจฟิล์มโลหิตไม่น้อยกว่า ร้อยละ 99 3. มาตรฐานควบคุมการระบาด 3.1 ก่อนการเกิดโรค - ระบบเฝ้าระวังโรค - รายงาน 506 - ได้รับการยืนยันผลการ วินิจฉัยโดยแพทย์ (หน่วยบริการปฐมภูมิ) - การเตรียมความพร้อมของ ทรัพยากร (คน / ยา / อุปกรณ์)
ผสมผสานงานเข้าสู่จังหวัด มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด พื้นที่ ภายใต้โครงการควบคุม ผสมผสานงานเข้าสู่จังหวัด 3. มาตรฐานควบคุมการระบาด (ต่อ) 3.2 กรณีเกิดโรคมาลาเรีย การสอบสวนโรค - การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ร้อยละของการสอบสวนโรค - จำนวนรายงานของการค้นหาผู้ป่วย - ความทันเวลาในการสอบสวนโรค - ร้อยละของการสอบสวนโรคภายใน......วัน การควบคุมแหล่งแพร่โรค ร้อยละของการแจ้งไปยังจังหวัดที่ผู้ป่วยไปติดเชื้อนอกพื้นที่(Imported case) การควบคุมแมลงพาหะนำโรค จำนวนครั้งที่ควบคุมยุงพาหะ การติดตามการรักษา (Follow up) ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการติดตามการรักษา
แนวทาง/มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคไข้ปวดข้อยุงลาย รู้ผู้ป่วยเร็ว (ความทันเวลา) มีการวินิจฉัยโรคโดยแพทย์ (โรงพยาบาลรัฐ/เอกชน, คลินิก) มีการรายงานไปยังทีม SRRT ในพื้นที่ ภายใน 24 ชม. หลังได้รับการวินิจฉัย สอบสวนผู้ป่วยรายแรกได้รวดเร็วทุกราย ทีม SRRT สอบสวนผู้ป่วยรายแรกในหมู่บ้านทุกราย สอบสวนภายใน 24 ชม. มีรายงานการสอบสวนผู้ป่วยรายแรก
แนวทาง/มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคไข้ปวดข้อยุงลาย มีการเฝ้าระวังทางด้านกีฏวิทยา มีข้อมูลการสำรวจด้านกีฏวิทยา: กรณีผู้ป่วยรายแรกๆ ของพื้นที่ต้องจับยุงส่งตรวจหาเชื้อ มีระบบการรายงานผู้ป่วย/ผู้ป่วยสงสัย ที่รวดเร็ว (ครบถ้วน ถูกต้อง) การไหลเวียนข้อมูลในระดับสถานีอนามัย สสอ. รพช. สสจ. ตามลำดับ มีการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงที่เข้ามาในพื้นที่ นักศึกษาพยาบาล ทหาร แรงงานรับจ้าง นักท่องเที่ยวที่เข้าไปในพื้นที่เสี่ยงหรือที่มีการระบาดของโรค ?
แนวทาง/มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคไข้ปวดข้อยุงลาย มีการเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรในการควบคุมโรค ด้านคน ด้านงบประมาณ วัสดุสิ่งของ ด้านนโยบาย
แนวทาง/มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคไข้ปวดข้อยุงลาย การควบคุมเมื่อเกิดโรค การควบคุมยุงตัวเต็มวัย การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ การควบคุมแหล่งแพร่โรค การป้องกันตนเอง
แนวทาง/มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคไข้ปวดข้อยุงลาย การให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย สื่อ/ช่องทาง วิธีการ/กระบวนการจัดการ
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคเท้าช้าง มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด การควบคุมการระบาด ก่อนการเกิดโรค - ระบบเฝ้าระวังโรค - รายงาน 506 - ได้รับการยืนยันผลการ วินิจฉัยโดยแพทย์ (หน่วยบริการปฐมภูมิ) - การเตรียมความพร้อมของ ทรัพยากร (คน / ยา / อุปกรณ์) กรณีเกิดโรคเท้าช้าง การสอบสวนโรค - การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ร้อยละของการสอบสวนโรค - จำนวนรายงานของการค้นหาผู้ป่วย - ความทันเวลาในการสอบสวนโรค - ร้อยละของการสอบสวนโรคภายใน......วัน
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด การควบคุมแหล่งแพร่โรค ร้อยละของการแจ้งไปยังจังหวัดที่ผู้ป่วยไปติดเชื้อนอกพื้นที่(Imported case) การควบคุมแมลงพาหะนำโรค จำนวนครั้งที่ควบคุมยุงพาหะ การติดตามการรักษา (Follow up) ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการติดตามการรักษา