แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย และเพชรบูรณ์
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจในเด็ก สำนักโรคติดต่อทั่วไป

วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการป้องกันโรค แต่ ไม่ได้เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการควบคุมโรค

กราฟแสดงการตอบสนองของภูมิต้านทาน Protective immunity

R0 and Herd Immunity Threshold Disease Transmission R0 Herd immunity threshold Diphtheria Saliva 6-7 83 - 86% Measles Airborne 12-18 92 - 94% Mumps Airborne droplet 4-7 75 - 86% Pertussis 12-17 Polio Fecal-oral route 5-7 80 - 86% Influenza 1.5-2 33 - 50% Smallpox Social contact Source: History and Epidemiology of Global Smallpox Eradication From the training course titled “Smallpox: Disease, Prevention, and Intervention”. CDC and WHO 4 4

Rarely outbreak occurs M/MMR - Low coverage ~20% M/MMR - > 95% coverage เกิดการระบาด No cluster, Rarely outbreak occurs ได้รับวัคซีน ไม่ได้รับวัคซีน

ประชากรกลุ่มเสี่ยง.... Keep Up Catch Up Mop Up พื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร พื้นที่เข้าถึงยาก แรงงานย้ายถิ่น แรงงานต่างด้าว แรงงานผิดกฎหมาย ชุมชนแออัด Keep Up Catch Up Mop Up ติดตามผลการดำเนินงาน ความครอบคลุม การเฝ้าระวังโรค หน่วยบริการเคลื่อนที่ รณรงค์ให้วัคซีนเสริม

แนวทางการตรวจสอบและ ให้วัคซีนเพื่อการกำจัดโรคหัด  ระยะก่อนเกิดโรค  ระยะที่มีการระบาด

ระยะก่อนเกิดโรค 1. ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กในพื้นที่ และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค

ระยะก่อนเกิดโรค 1. การตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนของเด็ก กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ และการให้วัคซีน เพิ่มเติม 1.1 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็กอายุ ครบ 1 ปี 1.2 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็ก < 7 ปี 1.3 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็ก ป.1 – ม.6 1.4 สถานบริการไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีนของ กลุ่มเป้าหมาย ตาม 1.1 – 1.3

ระยะก่อนเกิดโรค ตรวจสอบระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในกลุ่มเป้าหมายรายไตรมาส (> 95%) ครั้งที่ 1 : เด็กอายุ 9-12 เดือน ครั้งที่ 2 : นักเรียนชั้น ป. 1

ทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนเด็กก่อนวัยเรียน

การให้วัคซีน MMR ในเด็กก่อนวัยเรียน จำแนกตามประวัติการได้รับวัคซีน M/MMR การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับวัคซีน ครั้งนี้ให้ MMR 1 ครั้ง และ ให้อีก 1 ครั้ง เมื่อเข้า ป.1 ไม่แน่ใจ ได้รับวัคซีนก่อนอายุ 9 เดือน เคยได้มาแล้ว หลังอายุ 9 เดือน ครั้งนี้ไม่ต้องให้ MMR จนกว่า เด็กจะเข้าเรียนชั้น ป. 1

การให้วัคซีน MMR ในเด็กวัยเรียน จำแนกตามประวัติการได้รับวัคซีน ประวัติการได้รับวัคซีน M/MMR การให้วัคซีน ไม่ได้รับครั้งแรก/ไม่แน่ใจ และ ไม่ได้รับเมื่อ ป.1 หรือ 4-6 ปี MMR 1 ครั้ง ได้รับครั้งแรก และ ไม่ได้รับเมื่อ ป.1 หรือ 4-6 ปี ได้รับครั้งแรก และ ไม่แน่ใจ ว่าได้รับเมื่อ ป.1 หรือ 4-6 ปี หรือไม่ ไม่ได้รับครั้งแรก/ไม่แน่ใจ แต่ ได้รับเมื่อ ป.1 หรือ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR

ระยะก่อนเกิดโรค 1. ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนของ เด็กในพื้นที่และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค

ระยะก่อนเกิดโรค 2. การให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง @ เด็กที่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร @ เด็กด้อยโอกาส @ เด็กในกลุ่มแรงงานต่างชาติ

กรณีไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีนของเด็กก่อนวัยเรียน/วัยเรียน (1.4) กรณีมีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ (2) สสอ./สสจ. วางแผนรณรงค์ให้ MMR แก่เด็กทุกคน โดยไม่คำนึงถึงประวัติการเจ็บป่วย & ประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต

แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด  เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

แนวทางการให้วัคซีนเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกันเป็นจำนวนมาก ดำเนินการควบคุมโรค พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 1 ราย ดำเนินการเช่นเดียวกับ ในระยะก่อนเกิดโรค

เกณฑ์การระบาด พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกันเป็น จำนวนมาก

กรณีหัดระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน (อายุต่ำกว่า 7 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด/MMR > 95% < 95% /ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ติดตามเด็กเฉพาะราย ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันที  รีบให้ MMR แก่เด็ก > 9 เดือน – 6 ปีทุกคน ในหมู่บ้าน+หมู่บ้านที่มีการถ่ายทอดโรค  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก  ไม่ให้ MMR แก่เด็ก < 9 เดือน ให้แยกเลี้ยงไม่ให้คลุกคลีกับผู้ป่วย

กรณีหัดระบาดในเด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6) ตรวจสอบประวัติการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 ของเด็กแต่ละคนทุกชั้นเรียน ดูหลักฐานยืนยัน ไม่ได้รับ/ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ได้รับ รีบให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงาน ผู้ป่วยรายแรก ไม่ต้องให้ MMR เด็กที่มีหลักฐานว่าได้ MMR เมื่ออายุ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR ในการควบคุมโรค

การระบาดในผู้ใหญ่ ประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตาม “แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR ในการควบคุมโรค” ผู้ใหญ่ที่เกิดตั้งแต่ 2533 ผู้ใหญ่ที่เกิดก่อน 2533 กลุ่มอายุ & ขอบเขต การให้วัคซีน ขึ้นกับผลการสอบสวนและแบบประเมินฯ ตรวจสอบการได้รับ MMR เมื่อเข้า ป.1 เคยได้รับ ไม่เคย/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ < 2 % อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ > 2 % ให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังได้รับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์ ไม่ให้ MMR ไม่ให้ MMR ให้ MMR เฉพาะกลุ่มอายุ > 2% ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม.หลังได้รับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์

แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (1) ข้อมูลการระบาดเบื้องต้น การระบาดของโรค............................................... สถานที่พบผู้ป่วย................................ ตำบล.............................................. อำเภอ............................................. จังหวัด............................................ วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก................/......./....... วันที่พบผู้ป่วยรายแรก.........../.........../............

แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (2) อัตราป่วยแยกรายกลุ่มอายุ กลุ่มอายุ จำนวนป่วย จำนวนทั้งหมด Attack rate (%) 15-19 ปี 20-24 ปี 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี 40 ปีขึ้นไป รวม

แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (3) จำนวนวัคซีนที่ต้องการเบิก...............................ขวด วันที่เริ่มให้วัคซีน............./............./..................... ผู้ให้ข้อมูล.................................... สถานที่ทำงาน...................................................... เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน.......................................... เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่.......................................... วันที่ส่งแบบประเมิน......../................/..................

ข้อแนะนำสำหรับพื้นที่ที่ไม่มีการระบาด มีโรคหัดเกิดขึ้นในพื้นที่ สสอ./สสจ แจ้ง พื้นที่ใกล้เคียง ตรวจสอบประวัติได้รับวัคซีน ค้นหากลุ่มเสี่ยง  เด็กก่อนวัยเรียน  เด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6) เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส เด็กแรงงานต่างชาติ ให้ MMR ทุกคน ให้ MMR ตามประวัติการได้รับวัคซีน

แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด - ไม่แนะนำให้วัคซีนเพื่อการควบคุมโรคหัด - ให้ดำเนินการแบบระยะก่อนเกิดโรค เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน) มีการระบาด > 1 เดือน

มาตรการในการป้องกัน และควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เติมให้เต็ม: ให้วัคซีนประชากรกลุ่มเสี่ยงต่างๆ เช่น ในพื้นที่ห่างไกล เข้าถึงยาก มีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน ซึ่งเป็นกลุ่มที่อาจไม่ได้รับวัคซีน หรือได้รับไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด เข้มแข็งเฝ้าดู: เฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และมีการรายงาน อย่างรวดเร็ว พร้อมดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรค หยุดหมู่มารร้าย: แยกผู้ป่วยป้องกันการแพร่กระจายโรค และ ให้วัคซีนแก่ผู้สัมผัสโรคอย่างรวดเร็ว (ภายใน 72 ชม.) ใส่ใจดูแล: ให้การดูแลรักษาอย่างรวดเร็วและเหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดอัตราป่วยอัตราตาย อย่าเชือนแชสื่อสาร: ให้ข้อมูลและข่าวสารต่างๆ เกี่ยวกับ วัคซีน ประโยชน์ของการได้รับวัคซีน และอาการที่อาจเกิด ภายหลังได้รับวัคซีน

Thank you