Lab 2: การใช้ MATLAB สำหรับการสร้างแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ. ศ
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความน่าจะเป็น Probability.
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
สาระที่ 4 พีชคณิต.
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
We well check the answer
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 อัตราส่วน.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบสมการหลายตัวแปร
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
การจำลองความคิด
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การแจกแจงปกติ.
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
Recursive Method.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
Week 5 While and Do-While loop (Control Structure 2)
ข้อบังคับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lab 2: การใช้ MATLAB สำหรับการสร้างแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์ ENE 206 MATLAB Laboratory Lab 2: การใช้ MATLAB สำหรับการสร้างแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์

การใช้ MATLAB สำหรับการสร้างแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์ การจำลอง (Simulation) คือกระบวนการของการสร้างและวิเคราะห์ผลลัพธ์ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ใช้บรรยายกระบวนการทำงานของระบบที่เราสนใจศึกษา โดยส่วนใหญ่ การสร้างโปรแกรมการจำลองในทางวิศวกรรมอาศัยการใช้ โอเปอร์เรเตอร์ทางตรรกะ (logical operators) และชุดคำสั่งวนซ้ำ (loops)

ตัวอย่างแบบจำลองทางวิศวกรรม แบบจำลองจำนวนนักศึกษาเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย (College enrollment model) มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งต้องการวิเคราะห์ผลของการรับนักศึกษาเข้าเรียน (admissions) และการซ้ำชั้นของนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่ง (freshman retention rate) ต่อจำนวนนักศึกษาเข้าเรียนของมหาวิทยาลัย เพื่อที่จะนำมาใช้ในการทำนายความต้องการที่จะรับอาจารย์ และการเตรียมครุภัณฑ์อื่น ๆ เพิ่มเติมในอนาคต ดังนั้น เพื่อการวิเคราะห์ผลดังกล่าว มหาวิทยาลัยจึงได้มีการทำการศึกษาเพื่อประเมินเปอร์เซนต์ของจำนวนนักศึกษาที่ต้องซ้ำชั้น (repeating) และนักศึกษาที่พ้นสภาพก่อนการจบการศึกษา (leaving school before graduating) ในแต่ละปี และนำมาใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับการวิเคราะห์แบบจำลอง ด้วยสมการเมตริกซ์ดังต่อไปนี้

สร้างความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ของแบบจำลอง สมมติให้ จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่งในปัจจุบันเป็น 500 คน และมหาวิทยาลัยตัดสินใจรับนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่ง 1000 คนต่อปี ในปีต่อ ๆ ไป และมหาวิทยาลัยประเมินว่าจะมีนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่งซ้ำชั้น 10 เปอร์เซนต์ ดังนั้นในแต่ละปีถัดไป จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่ง จะสามารถคำนวณได้เป็น 0.1×(500) + 1000 = 1050 0.1×(1050) + 1000 = 1150 ดังนั้นให้ x1(k) เป็นจำนวนนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่งในปีการศึกษาที่ k โดยที่ k = 1, 2, 3, 4, … ดังนั้นในปีที่ k+1 จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่งจะเป็น x1(k+1) = 0.1 x1(k) + 1000

แบบจำลองสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ในทำนองเดียวกัน ให้ x2(k) เป็นจำนวนนักศึกษาชั้นปีที่สองในปีการศึกษาที่ k และสมมติให้มี 15 เปอร์เซนต์ของนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่งลาออกจากมหาวิทยาลัย และ 5 เปอร์เซนต์ของนักศึกษาชั้นปีที่สองต้องซ้ำชั้น ในขณะที่มหาวิทยาลัยยังรับนักศึกษาชั้นปีที่สองที่โอนย้ายมาจากสถาบันอื่นอีก 200 คนต่อปี ดังนั้นในปี k+1 จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่สองทั้งหมดคิดเป็น x2(k+1) = 0.75 x1(k) + 0.05 x2(k) + 200 จะเห็นได้ว่าในการที่จะรู้จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่สองในปีถัด ๆ ไป จะต้องทราบจำนวนนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่งเสียก่อน ซึ่งเราสามารถหาค่าจำนวนดังกล่าวพร้อม ๆ กันได้ใน MATLAB

แบบจำลองสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 3 และ 4 ในทำนองเดียวกัน สมมติให้ x3(k) และ x4(k) คือจำนวนนักศึกษาชั้นปีที่สามและสี่ในปีที่ k และสมมติให้ 5 เปอร์เซนต์ของนักเรียนชั้นปีที่สองและสามลาออกจากมหาวิทยาลัยในแต่ละปี รวมถึง 5 เปอร์เซนต์ของนักเรียนชั้นปีที่สามและสี่ต้องซ้ำชั้นในแต่ละปี ดังนั้นโมเดลจำลองนักศึกษาชั้นปีที่สามและสี่ คิดเป็น x3(k+1) = 0.90 x2(k) + 0.05 x3(k) x4(k+1) = 0.90 x3(k) + 0.05 x4(k)

แบบจำลองด้วยสมการสภาวะ (State Equation) จะเห็นได้ว่าหากเราทราบจำนวนนักศึกษาในแต่ละชั้นปีเมื่อปีเริ่มต้น เราสามารถหาจำนวนนักศึกษาแต่ละชั้นปีการศึกษาในแต่ละปีได้จากการใช้สมการแบบจำลองโมเดลการวิเคราะห์จำนวนนักศึกษาทั้ง 4 สมการที่สร้างขึ้นในรูปแบบวนซ้ำ (loop) ตามจำนวนปีที่ต้องการ อย่างไรก็ดี หากจัดรูปสมการจำนวนนักศึกษาแต่ละชั้นปีใหม่เป็น ซึ่งเรียกสมการเมตริกซ์นี้ว่า สมการสภาวะ (State Equation) ซึ่งสามารถนำไปใช้คำนวณในรูปแบบวนซ้ำเช่นเดียวกัน

การวิเคราะห์แบบทั่วไป (Generalized Model) สำหรับการวิเคราะห์ปัญหานี้แบบทั่วไปกระทำได้โดยสมมติให้ a(k) เป็นจำนวนนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่งที่ได้รับการตอบรับเข้าเรียนในปีที่ k และ d(k) เป็นจำนวนนักศึกษาที่โอนย้ายเข้ามาศึกษาในปีที่สอง ทั้งนี้ให้เปอร์เซนต์นักศึกษาที่เข้าเรียนในแต่ละปีและนักศึกษาที่ซ้ำชั้นเขียนอยู่ในรูปตัวแปร cij(k) ดังนั้นสมการสภาวะทั่วไปจะเป็น หรือ

แผนภาพการถ่ายเทสภาวะ (state transition diagram) Sophomore Transfers New Admissions a(k) d(k) c21 c32 c43 x1(k) x2(k) x3(k) x4(k) Freshmen Sophomores Juniors Seniors c11 c22 c33 c44

แบบฝึกหัด สมมติให้มหาวิทยาลัยมีจำนวนนักศึกษาตั้งต้น 1480 คน โดยประกอบไปด้วยนักศึกษาชั้นปีที่ 1 – 4 เท่ากับ 500, 400, 300, และ 280 คนตามลำดับ จงใช้แบบจำลองเพื่อวิเคราะห์ผลของการเพิ่มอัตราการรับนักศึกษาปีที่หนึ่งเป็นจำนวน 100 คน และอัตราการรับนักศึกษาโอนย้ายปีที่สองเพิ่มขึ้น 50 คนในแต่ละปี เป็นเวลาทั้งสิ้น 10 ปี โดยอัตราการรับนักศึกษาปีที่หนึ่ง และนักศึกษาโอนย้ายปีที่สองจะมีค่าคงที่ในปีที่จำนวนนักศึกษารวมของมหาวิทยาลัยมีค่าเท่ากับ 4000 คน จงแสดงผลการวิเคราะห์โดยการแสดงกราฟจำนวนนักศึกษาแต่ละชั้นปี ในแต่ละปี (แสดงไว้บนกราฟเดียวกัน) และสรุปว่า ณ ปีใดที่อัตราการรับนักศึกษาชั้นปีที่หนึ่ง และนักศึกษาโอนย้ายปีที่สองมีค่าคงที่ โดยมีค่าเท่ากับเท่าใด

ผลที่คาดว่าจะได้รับ