Rethinking Research Deane Neubauer Professor Emeritus, University of Hawaii, Manoa Presented to the School of Social Science and Languages King Mongkut’s University of Technology Thonburi August 27, 2006
Why Should We Rethink Research? Lack of meaning in research Tendency to do what we know, rather than to do what may be needed การทำวิจัยที่ไม่เกิดประโยชน์ แนวโน้มที่จะทำวิจัยในสิ่งที่เรารู้มากกว่าสิ่งที่จำเป็นต้องทำ
Why Should We Rethink Research? New problems require new research questions Good research is cumulative--as knowledge accumulates, we need to ask new questions เมื่อพบปัญหาใหม่เราจำเป็นต้องตั้งคำถามวิจัยใหม่ งานวิจัยที่ดี เปรียบได้กับความรู้ซึ่งเป็นการสั่งสมคิดค้นขึ้น เราจึงจำเป็นต้องมีการตั้งคำถามวิจัยใหม่
Why Should We Rethink Research? Keeping up: novelty and innovation in research care constant การศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ใหม่จำเป็นต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
Why Do Research? Obviously--to gain knowledge. But…what kind of knowledge? The centrality of the research question to the research endeavor. เราต้องการความรู้ใหม่ แต่คือความรู้ประเภทใด เพื่อพยายามตอบคำถามวิจัย
Why Do Research? What do you want to know? Why do you want to know it? How might you go about it? เราต้องการรู้อะไร เหตุใดเราจึงต้องการรู้สิ่งนั้น เราจะใช้วิธีการใดเพื่อให้รู้สิ่งนั้น
What Do You Want to Know? Whatever the subject, it is critical to know whether others have done it before you. Research is done on the efforts of our predecessors. ในการศึกษาเรื่องใดๆก็ตาม เราจำเป็นต้องทราบว่าได้มีการศึกษาเรื่องนั้นๆ มาก่อนหรือไม่ เนื่องจากการทำวิจัยเป็นการต่อยอดความรู้จากผู้วิจัยอื่นๆ ที่ได้ทำวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
What Do You Want to Know? The first step always is researching the research question--then one can ask: how is my question similar or different? How can I build on what has been done? ขั้นตอนแรกคือ ศึกษาคำถามวิจัยที่มีอยู่ก่อน แล้ว พิจารณาว่าคำถามวิจัยที่จะตั้งขึ้นใหม่นั้นเหมือนหรือแตกต่างจากเดิมอย่างไร แล้วเราจะทำวิจัยต่อได้อย่างไร
Yin’s Approach (1984) Is it exploratory? Seek to describe the incidence or distribution of some phenomenon? What is happening? What are the salient themes, patterns, categories in participants’ meaning structures? How are these patterns linked to one another การวิจัยนี้เป็นรูปแบบเชิงสำรวจหรือไม่ เราทำเพื่อต้องการอธิบายหรือเพื่อพิสูจน์ปรากฏการณ์บางอย่าง กำลังเกิดอะไรขึ้นในปรากฏการณ์ที่เราต้องการศึกษา อะไรคือ โครงสร้าง รูปแบบ ที่เด่นชัด ของผลที่ได้จากกลุ่มประชากร รูปแบบลักษณะเหล่านี้สัมพันธ์กับรูปแบบอื่นๆอย่างไร
Yin’s Approach (1984) Or, does it try to explain some phenomenon? What events, beliefs, attitudes, policies etc. are shaping the environment How do these forces interact to result in the phenomenon? หรือ การวิจัยนี้ทำเพื่อที่จะอธิบายปรากฏการณ์บางอย่าง เหตุการณ์ ความเชื่อ ทัศนคติ หรือนโยบายใดที่มีผลต่อสังคมหรือสิ่งรอบตัวเรา สิ่งเหล่านี้สัมพันธ์กันอย่างไร จึงทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆเหล่านั้นในสังคม
Description and Prediction Is it descriptive? What do you seek describe? Documenting the phenomenon. What are the salient behaviors, events, beliefs, attitudes, structures, processes occurring in this phenomenon? การวิจัยนี้เป็นรูปแบบเชิงพรรณนาหรือไม่ สิ่งที่เราต้องการค้นหาคืออะไร การรวบรวมเอกสารและข้อมูลเพื่ออธิบายปรากฏการณ์นั้นๆ อะไรคือพฤติกรรม เหตุการณ์ ความเชื่อ ทัศนคติ โครงสร้างและ กระบวนการที่เด่นชัด ซึ่งเกิดขึ้นในปรากฏการณ์นั้นๆ
Description and Prediction Is it predictive? Predicting outcomes or forecasting events. What will occur as a result of the phenomenon? Who will be affected? In what ways? การวิจัยนี้เป็นรูปแบบเชิงพยากรณ์หรือไม่ การคาดเดาผลลัพธ์หรือคาดการณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น เมื่อเกิดปรากฏการณ์บางอย่าง อะไรจะเกิดตามมา ใครจะได้รับผลกระทบ และกระทบในแง่ใดบ้าง
กรณีศึกษาจากหลายแหล่ง การศึกษาประวัติศาสตร์ การศึกษาชาติพันธุ์วรรณา Research Strategy Examples of Data Exploratory Case study Field Study Participant observation, in-depth interviewing, elite interviewing, focus groups กรณีศึกษา การศึกษาภาคสนาม การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์บุคคลระดับสูง การศึกษาเฉพาะกลุ่ม Explanatory Multi-site case study History Field study Ethnography Participant observation In-depth interviewing Survey questionnaire Document analysis กรณีศึกษาจากหลายแหล่ง การศึกษาประวัติศาสตร์ การศึกษาชาติพันธุ์วรรณา การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก การใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์เอกสาร
การศึกษาชาติพันธุ์วรรณา Research Strategy Examples of Data Descriptive Field Study Case Study Ethnography Participant Observation In-depth interviewing Document analysis Unobtrusive measures Survey questionnaire การศึกษาภาคสนาม กรณีศึกษา การศึกษาชาติพันธุ์วรรณา การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์เอกสาร การวัดแบบไม่แทรกแซง การใช้แบบสอบถาม Predictive Experiment Quasi-experiment (large sample) Kinesics/proxemics Content analysis การทำการทดลอง การทำการกึ่งทดลอง การใช้แบบสอบถาม (กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่) การวิเคราะห์เนื้อหา
Developing Research Proposals: Introducing the Study Describe the substantive focus of research Frame as larger theoretical, policy or practice problem--develop its significance อธิบายจุดเน้นของงานวิจัย สร้างโครงร่างของทฤษฎี นโยบาย และปัญหาที่ต้องการศึกษา แล้วพัฒนาเพื่อให้ได้นัยสำคัญของงานวิจัย
Developing Research Proposals: Introducing the Study 3. Pose initial research questions 4. Forecast literature to be discussed in literature review Discuss limitations of Study ตั้งปัญหาหรือคำถามวิจัย คาดการณ์วรรณกรรมที่ต้องนำมาใช้ในงานวิจัย อภิปรายข้อจำกัดในงานวิจัย
Developing Research Proposals: Review of Related Literature Four functions of literature review: Demonstrate underlying assumptions behind general research questions Demonstrate knowledge of researcher in related research and its traditions จุดประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรม แสดงสมมติฐานซึ่งเป็นที่มาของคำถามวิจัย แสดงความรู้ของผู้วิจัยในเรื่องที่จะศึกษา
Developing Research Proposals: Review of Related Literature Demonstrate that researcher has identified gaps and that proposal will fill needs Refines and redefines the research question and any related hypotheses แสดงถึงความจำเป็นในการทำวิจัยเพื่อที่จะเติมส่วนขององค์ความรู้ที่ยังขาดหายไป ช่วยในการปรับคำถามวิจัยและสมมติฐานที่เกี่ยวข้อง
Developing Research Proposals: Research Design and Research Methods What is your research intended to do? What is it not intended to do? (Bounding the study.) งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาอะไรและไม่ศึกษาอะไร (กำหนดขอบเขตของงานวิจัย)
Developing Research Proposals: Research Design and Research Methods Which methods will you employ? Why these? Why not others? วิธีและระเบียบวิจัยใดที่ควรนำมาใช้ ทำไมจึงใช้หรือไม่ใช้วิธีและระเบียบวิจัยนั้นๆ
The tension and complementary nature of quantitative and qualitative research approaches Quantitative research of one variety very good for doing macro research in politics, sociology, economics, environment, etc. การวิจัยเชิงปริมาณเป็นวิธีวิจัยที่เหมาะสำหรับงานวิจัยระดับมหัพภาค เช่น ด้านรัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และอื่นๆ
The tension and complementary nature of quantitative and qualitative research approaches Quantitative survey research is very useful in identifying characteristics of populations, but requires care in control of sample size and representative nature of the sample. Power of significance dictated by the rigor of sample selection. การวิจัยเชิงปริมาณแบบสำรวจ เป็นวิธีวิจัยที่เหมาะสำหรับงานที่ต้องการชี้ให้เห็นถึงลักษณะประชากร อย่างไรก็ตามการเลือกขนาดของกลุ่มตัวอย่างประชากรที่สำรวจจะต้องมีความเหมาะสม สามารถเป็นตัวแทนของประชากรทั้งหมดได้
Critiques of survey biases. การวิพากษ์อคติที่เกิดจากการสำรวจ The tension and complementary nature of quantitative and qualitative research approaches Critiques of survey biases. การวิพากษ์อคติที่เกิดจากการสำรวจ
Complementary Nature of Qualitative Research More detailed examination of survey characteristics Deeper exploration of meanings การทำวิจัยเชิงสำรวจทำให้เกิดการตรวจสอบในระดับรายละเอียด ทำให้เกิดการค้นหาความหมายในเชิงลึก
Complementary Nature of Qualitative Research Ability to do micro level research--the focus in much qualitative research on “lived-life” issues and activities สามารถสร้างงานวิจัยในระดับจุลภาค ซึ่งมุ่งศึกษาในหัวข้อที่เกิดขึ้นจริง
Complementary Nature of Qualitative Research In general survey research tells us “what” and qualitative research can tell us “how” and “why”. โดยทั่วไป การวิจัยเชิงสำรวจ จะอธิบาย “อะไร” และการวิจัยเชิงคุณภาพ จะอธิบาย “อย่างไร” และ “เพราะเหตุใด”