Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาร์เรย์ (Array ).
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Arrays.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Principles of Programming
Principles of Programming
Data Type part.II.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Arrays.
Arrays.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 12 Engineering Problem 2
Week 12 Engineering Problem 2
ตัวแปรชุด Arrays.
อาร์เรย์ (Arrays).
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
L/O/G/O ฟังก์ชั่นการรับและ แสดงผล และฟังก์ชั่นทาง คณิตศาสตร์
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
L/O/G/O อาร์เรย์ และฟังก์ชั่นจัดการ สตริง. วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการของอาร์เรย์ และประยุกต์ใช้ งานได้ เปรียบเทียบความแตกต่างของอาเรย์แบบต่าง.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT อาร์เรย์ (Array)

อาร์เรย์ คืออะไร การประกาศตัวแปร หลายตัว (มากกว่า 2 ตัวขึ้นไป) โดยตัวแปรภายในอาร์เรย์จะมีชื่อเหมือนกัน แต่จะต่างกันที่ตัวเลขดัชนี (index)

ทำไมต้องมี อาร์เรย์ โปแกรมจะซับซ้อนและยุ่งยากมากถ้าทันทีถ้าไม่มี อาร์เรย์ ตัวอย่างเช่น การประกาศตัวแปรจำนวนเต็มเพื่อเก็บเลขจำนวนเต็ม 10 ตัว int num1,num2,num3, num4,num5,num6, num7,num8,num9,num10; การรับค่าเลขจำนวนเต็ม 10 ตัว scanf(“%d”,&num1); scanf(“%d”,&num2); … scanf(“%d”,&num10);

อาร์เรย์มีกี่แบบ อาร์เรย์ 1 มิติ (ใช้เก็บข้อมูลเสียง, อุณหภูมิ ได้) อาร์เรย์ 2 มิติ (ใช้เก็บรูปภาพ ได้) อาร์เรย์ หลายมิติ (เช่น อาร์เรย์ 3 มิติ ใช้เก็บภาพวิดีโอ ได้)

อาร์เรย์ 1 มิติใช้งานอย่างไร รูปแบบการประกาศ อาร์เรย์ 1 มิติ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[ขนาดของอาร์เรย์] ตัวอย่างการประกาศ int num[10]; อาร์เรย์นี้ ประกอบด้วยตัวแปรย่อยดังนี้ num[0], num[1], num[2], …, num[9] เมื่อ 0,1,2,…,9 คือ เลขดัชนี (index) ที่ใช้ในการระบุตัวแปรในอาร์เรย์ เช่น num[0] คือตัวแปรตัวแรกในอาร์เรย์ num หมายเหตุ: index ตัวแรกของ อาร์เรย์เริ่มต้นที่ 0 เสมอ ดังนี้ index ตัวสุดท้าย = ขนาดอาร์เรย์ - 1

อาร์เรย์ 1 มิติใช้งานอย่างไร (ต่อ) char cc[100]; //คืออาร์เรย์ชนิดตัวอักษรมีตัวแปรในอาร์เรย์ 100 ตัว float bb[5]; //คืออาร์เรย์ชนิดเลขจำนวนจริงมีตัวแปรในอาร์เรย์ 5 ตัว อาร์เรย์ 1 มิติใช้งานอย่างไร (ต่อ) char cc[100]; //คืออาร์เรย์ชนิดตัวอักษรมีตัวแปรในอาร์เรย์ 100 ตัว float bb[5]; //คืออาร์เรย์ชนิดเลขจำนวนจริงมีตัวแปรในอาร์เรย์ 5 ตัว

อาร์เรย์ 2 มิติใช้งานอย่างไร รูปแบบการประกาศ อาร์เรย์ 2 มิติ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[ขนาดของอาร์เรย์มิติที่ 1 (row)] [ขนาดของอาร์เรย์มิติที่ 2 (column)] ตัวอย่างการประกาศ int num2[2][3]; อาร์เรย์นี้ ประกอบด้วยตัวแปรย่อย ซึ่งสามารถแสดงในรูปของตารางได้ ดังนี้ ขนาดรวม = 2 x 3 = 6 Column 0 Column 1 Column 2 Row 1 num2[1][0] num2[1][1] num2[1][2] Row 0 num2[0][0] num2[0][1] num2[0][2] เมื่อ 0,1,2 คือ เลขดัชนี (index) ที่ใช้ในการระบุตัวแปรในอาร์เรย์ เช่น num2[0][0] คือตัวแปรตัวแรกในอาร์เรย์ num2

อาร์เรย์ หลายมิติ ใช้งานอย่างไร รูปแบบการประกาศ อาร์เรย์ หลายมิติ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[ขนาดมิติที่ 1][ขนาดมิติที่ 2][ขนาดมิติที่ 3]…[ขนาดมิติที่ n] เมื่อ n คือ มิติสุดท้ายของอาร์เรย์

อาร์เรย์ หลายมิติ ใช้งานอย่างไร ตัวอย่างการประกาศอาร์เรย์ 3 มิติ int num2[2][3][2]; //ขนาดของอาร์เรย์ = 2x3x2 = 12 อาร์เรย์นี้ ประกอบด้วยตัวแปรย่อย ซึ่งสามารถแสดงในรูปของตารางได้ ดังนี้ มิติที่ 2,index = 0 มิติที่ 2,index = 1 มิติที่ 2,index = 2 มิติที่ 1,index = 1 num2[1][0][0] num2[1][1][0] num2[1][2][0] มิติที่ 1,index = 0 num2[0][0][0] num2[0][1][0] num2[0][2][0] มิติที่ 3, index = 0 มิติที่ 2,index = 0 มิติที่ 2,index = 1 มิติที่ 2,index = 2 มิติที่ 1,index = 1 num2[1][0][1] num2[1][1][1] num2[1][2][1] มิติที่ 1,index = 0 num2[0][0][1] num2[0][1][1] num2[0][2][1] มิติที่ 3, index = 1